Loader

poker online

ปูนปั้น

Menu

Show posts

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.

Show posts Menu

Messages - Lali

#1

สิ่งสำคัญที่ต้องรู้ก่อนทำธุรกิจประเภทโรงแรม คือ เรื่องการเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม เนื่องจากโรงแรมถือเป็น อสังหาริมทรัพย์ที่ใช้เพื่อการพาณิชย์ สำหรับผู้ประกอบการท่านใด ที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับโรงแรม ในบทความนี้ นรินทร์ทอง เราได้รวบรวมข้อมูลน่ารู้เกี่ยวกับเรื่องภาษีที่ดินโรงแรม รวมทั้งแชร์วิธีการคำนวณ เพื่อแบ่งปันข้อมูลให้ทุกท่านได้นำไปใช้ในธุรกิจ
เรียนรู้เรื่อง ภาษีที่ดินโรงแรม ก่อนทำธุรกิจ อ่านบทความเต็มได้ที่นี่


ภาษีที่ดินโรงแรม คือ

"ภาษีที่ดินโรงแรม" หมายถึง ภาษีที่เกี่ยวข้องกับที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ที่ใช้ประกอบกิจการโรงแรมในประเทศไทย โดยสามารถแยกลักษณะของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
โรงเรือน เช่น โรงแรม รีสอร์ต โรงพยาบาล เป็นต้น
สิ่งปลูกสร้างอื่นๆ หมายถึง สิ่งปลูกสร้างอื่นที่ก่อสร้างติดที่ดินถาวร เช่น สะพาน ท่าเรือ เป็นต้น

ใครต้องเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม และ สิ่งปลูกสร้าง

สำหรับผู้ที่มีหน้าที่เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คือ ผู้ที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินโรงเรือน สิ่งปลูกสร้าง เช่น ตึก อาคาร คอนโดมิเนียม หรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประกอบการพาณิชย์ต่างๆ
อ่านเรื่องการเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม เพิ่มเติม อ่านบทความเต็มได้ที่นี่


มีอัตราภาษีอย่างไร

อัตราการเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม นั้นจะอยู่ที่ 0.3-0.7% และเริ่มเสียภาษีเมื่อผู้ประกอบการเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินที่ธุรกิจโรงแรมตั้งอยู่
วิธีการคำนวณ (และ ตัวอย่างการคำนวณ) ภาษีที่ดินโรงแรม

อัตราภาษีที่ดินและสิ่งที่ปลูกสร้าง ไม่ว่าจะเป็นในนามบุคคล หรือ นิติบุคคล จะจัดเก็บที่ร้อยละ 0.3-0.7% ซึ่งสามารถคำนวณจากมูลค่าของฐานภาษี ตามสูตรในรูปข้างต้น
ตัวอย่างวิธีการคำนวณภาษี
ยกตัวอย่างเช่น หากเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างโรงแรมมีมูลค่า ดังนี้
  • ที่ดิน มูลค่า 5,000,000 บาท

  • สิ่งปลูกสร้าง (หักค่าเสื่อมแล้ว) 2,0000,000 บาท

  • รวมมูลค่า 7,000,000 บาท

  • เมื่อเทียบกับตารางจะอยู่ในช่วง 0-50 ล้านบาท
ดังนั้น ภาษีที่ต้องเสียคือ 7,000,000 x 0.3% = 21,000 บาท
ดู วิธีการคำนวณภาษี แบบเต็มๆ เพิ่มเติม อ่านบทความเต็มได้ที่นี่

 
สรุปความสำคัญ การเสีย ภาษีที่ดินโรงแรม
โดยสรุปจะเห็นว่า การเสียภาษีที่ดินโรงแรม เป็นเรื่องที่จำเป็นต้องทำตามกฎหมายกำหนด เพราะมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจในภาพรวม ทั้งในแง่รายได้รัฐ การใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ หากผู้ประกอบการท่านใด ต้องการให้เราช่วยวางแผนเตรียมพร้อมก่อนทำธุรกิจโรงแรม ช่วยคำนวณภาษีโรงแรม หรือมีคำถามเพิ่มเติมปรึกษาได้ที่ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัดทางเราให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

#2

สำหรับพ่อค้าแม่ค้ามือใหม่ ที่เพิ่งเคยทําบัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้าครั้งแรก อาจคิดว่าคงเป็นเรื่องยาก แต่บทความนี้ นรินทร์ทอง จะชวนพ่อค้าแม่ค้ามือใหม่ทุกท่าน ไปทำความรู้จักกับ วิธีการทำบัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า เพื่อช่วยควบคุมต้นทุนธุรกิจ ทั้งยังช่วยวางแผนภาษีให้ดียิ่งขึ้น
เรียนรู้การทำ บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า เพิ่มเติมคลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่

บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า คือ

1. รายจ่าย
รายจ่าย หมายถึง จำนวนเงินทั้งหมดที่ร้านค้าใช้ไปกับรายจ่ายต่างๆ ได้แก่ ต้นทุนสินค้า ต้นทุนวัตถุดิบ รวมไปถึงค่าใช้จ่ายอื่นๆ
2. รายรับ
รายรับ คือ รายได้และผลประโยชน์ที่ได้รับจากการทำธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็น รายได้ทางตรงที่เกิดจากการขายสินค้า และบริการหรือรายได้ทางอ้อมในรูปแบบต่างๆ
3. ต้นทุน
หลักการทำบัญชีของรายรับรายจ่ายร้านค้า จะแยกต้นทุนออกจากรายการรายจ่าย เพราะต้องแยกให้ชัดเจนว่า ต้นทุนที่ทำให้เกิดรายได้มีอะไรบ้าง
 
บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า สำคัญอย่างไร

1. รู้กำไร-ขาดทุนที่แท้จริงของกิจการ
2. ควบคุมค่าใช้จ่าย
3. วางแผนการเงินได้ดีขึ้น
4. ป้องกันปัญหาหนี้สิน
5. ช่วยจัดการสต๊อกสินค้า
6. ใช้เป็นข้อมูลสำหรับยื่นกู้กับสถาบันการเงิน
7. สะดวกต่อการจัดการภาษีในอนาคต
ทำความเข้าใจความสำคัญของการทำ บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า เพิ่มเติมคลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่ที่นี่

วิธีทำบัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า

เราสามารถเริ่มต้นทำบัญชีรายรับรายจ่ายของร้านค้าได้ง่ายๆ โดยใช้ "แบบฟอร์มรายงานเงินสดรับ-จ่าย" ซึ่งเป็นแบบฟอร์มตามรูปแบบที่กำหนดของกรมสรรพากร (เราสามารถใช้แบบฟอร์มนี้ยื่นกับสรรพากรในกรณีที่มีการยื่นแบบเสียภาษีบุคคลธรรมดาได้)
ตัวอย่างแบบฟอร์มบัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า ตามแบบฉบับของกรมสรรพากร


  • ชื่อผู้ประกอบการ

  • ชื่อสถานประกอบการ

  • เลขประจำตัวประชาชน

  • วัน/เดือน/ปี โดยต้องเป็นวันที่มีการรับเงิน หรือจ่ายเงินจริงเท่านั้น แต่สามารถลงบัญชีภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันที่มีธุรกรรมรายรับ-รายจ่ายเกิดขึ้น ก็ได้เช่นกัน

  • รายรับที่เกิดจากการดำเนินธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นรายได้จากการจำหน่ายสินค้า, รายรับดอกเบี้ย หรือเงินปันผล

  • รายจ่าย-บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้าตามแบบของกรมสรรพากร กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการแบ่งรายการรายจ่าย ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1.รายจ่ายที่เป็นต้นทุนสินค้า และ 2.รายจ่ายอื่นๆ เช่น ค่าจ้างพนักงาน ค่าเช่าสถานที่ เป็นต้น

  • หมายเหตุ - ใช้สำหรับระบุรายละเอียดเพิ่มเติมว่าธุรกรรมรายรับหรือรายจ่ายที่เกิดขึ้นเป็นแบบจ่ายเงินสด หรือว่าเงินเชื่อ

ข้อควรรู้ของการทำ บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า แต่ละขั้นตอน

  • การจัดทำบัญชีต้องเป็นภาษาไทยเท่านั้น ในกรณีที่เป็นภาษาต่างประเทศจะต้องมีภาษาไทยแปลความหมายกำกับ

  • ต้องลงบันทึกรายการบัญชีภายใน 3 วันทำการ โดยนับแต่วันที่มีธุรกรรมรายได้-รายจ่ายใดๆ เกิดขึ้น

  • นำรายการที่เกิดขึ้น (รายรับ-รายจ่าย) มากรอกในแบบฟอร์ม เราสามารถเลือกกรอกทั้ง 2 รูปแบบ "แบบยอดรวมแต่ละวัน" และ "แบบแยกทีละรายการ"

  • ให้สรุปยอด รายรับ และ รายจ่ายเป็นรายเดือน เพื่อใช้เป็นหลักฐานประกอบการยื่นแบบเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา


วางแผนทำบัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ได้ที่ นรินทร์ทอง คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่

 
สรุปข้อดีของการทำ บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า กับ นรินทร์ทอง
เมื่ออ่านมาถึงตรงนี้จะเห็นได้ว่า การทำ บัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า มีความสำคัญกับธุรกิจอย่างมาก แต่อาจเป็นเรื่องที่หลายๆ คนเคยมองข้าม เพราะเป็นเรื่องยุ่งยากและใช้เวลา แต่จริงๆ แล้วการจัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายร้านค้า ถือเป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่ง ในการบริหารร้านค้าให้เติบโตได้อย่างมั่นคง หากผู้ประกอบการท่านใด ต้องการให้เราช่วยจัดทำบัญชีและภาษีร้านค้า หรือต้องการคำแนะนำในส่วนอื่นๆ สามารถปรึกษาได้ที่ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ทางเราให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

#3


การขายของออนไลน์ถือเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่นิยมอย่างมาก เพราะสามารถทำได้ทุกที่ ทุกเวลา โดย 2 แพลตฟอร์มซื้อ-ขายยอดฮิตที่ทุกคนต่างรู้จักกันดีในขณะนี้ คือ Shopee และ Lazada แพลตฟอร์มค้าขายออนไลน์ขนาดใหญ่ ที่สามารถเข้าถึงลูกค้าได้หลายกลุ่ม แต่ในขณะเดียวกันนี้ หลายๆ คนอาจเกิดข้อสงสัยว่า แล้วการ ขายของใน Shopee  Lazada เสียภาษีไหม? วันนี้ นรินทร์ทอง จึงอยากชวนทุกคนมาไขข้อสงสัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ พร้อมแชร์รายละเอียดอื่นๆ ที่ผู้ที่ทำธุรกิจขายของออนไลน์ควรรู้!




รายได้ขายของออนไลน์


  • รายได้จากการขายสินค้า – เป็นราคาที่ลูกค้าชำระสำหรับสินค้าที่คุณขาย หมายถึงจำนวนเงินที่ลูกค้าจ่ายจริงในการซื้อสินค้า

  • รายได้จากค่าจัดส่งที่ชำระโดยผู้ซื้อ – ผู้ขายอาจเรียกเก็บค่าจัดส่งสินค้าจากลูกค้า หรือรวมค่าจัดส่งไว้ในราคาสินค้า หรือบางครั้งผู้ขายอาจได้รับส่วนลด หรือค่าคอมมิชชั่นจากบริษัทขนส่ง

  • รายได้จากคอมมิชชั่น – สำหรับผู้ขายที่ขายสินค้าแบบ Drop shipping หรือเป็นตัวแทนขาย จะได้รับส่วนแบ่งรายได้ หรือคอมมิชชั่นจากยอดขาย


ค่าใช้จ่ายขายของออนไลน์


  • ต้นทุนสินค้าที่จ่ายให้กับ Supplier
  • ต้นทุนสินค้า
  • ค่าใช้จ่ายที่จ่ายให้กับ Shopee, Lazada
  • ค่าขนส่ง
  • ค่าธรรมเนียมการชำระเงิน (Payment Fee)
  • ค่าธรรมเนียมการขาย (Commission Fee)
  • ค่าโฆษณา (Affiliate Ads)
  • ค่าเข้าร่วมโปรแกรมต่างๆ
1.Freeship Max
2. Cash Back


ทำความเข้าใจเรื่องรายได้และค่าใช้จ่าย สำหรับร้านขายของออนไลน์เพิ่มเติมคลิก


การเข้าร่วมแคมเปญ พร้อมยกตัวอย่าง


สำหรับแพลตฟอร์ม Shopee ยกตัวอย่างเช่น แคมเปญส่งเสริมการขาย


  • รายได้จากการขายสินค้าจะถือเป็น รายได้จากการประกอบกิจการ

  • การคำนวณ:

1. รายได้รวม
2. หักค่าใช้จ่ายตามจริง
3. กำไรสุทธิ (Net Profit) – กำไรสุทธิ = รายได้รวม – ค่าใช้จ่ายทั้งหมด
4. เสียภาษีนิติบุคคล 15% สำหรับ SME


หมายเหตุ: กิจการที่เป็น SMEs อาจได้รับสิทธิประโยชน์ในการลดอัตราภาษีในช่วงแรก


  • ส่งฟรี ทางร้านจะโดนหัก 5% โดยจะหักเปอร์เซ็นต์จาก ยอดขายรวม (Gross Transaction Value หรือ GTV) ของผู้ขาย ซึ่งรวมทั้งค่าสินค้าและค่าจัดส่งก่อนที่จะมีการใช้ส่วนลดต่างๆ เช่น คูปอง หรือ โปรโมชันที่ให้กับลูกค้า
  • Coin cash back โดนหัก 3-4% จากราคาขายสินค้าสุทธิ ซึ่งค่าธรรมเนียมนี้จะถูกนำไปใช้สำหรับการสนับสนุนโปรแกรม Coin cash back ที่มอบเหรียญ Shopee Coins คืนให้กับลูกค้า เพื่อกระตุ้นยอดขายและเพิ่มการมีส่วนร่วมของลูกค้าบนแพลตฟอร์ม
  • เข้าร่วมทั้ง ส่งฟรี และ Coin cash back จะโดนหัก 6-7% หากร้านค้าที่เข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมการขายทั้ง 2 แคมเปญ ร้านค้าจะถูกหักค่าธรรมเนียมที่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ จากยอดขายของสินค้าในแคมเปญนั้นๆ และจะหักค่าธรรมเนียมเพิ่มขึ้น หากร้านค้าเข้าร่วมแคมเปญพิเศษอื่นๆ
ส่วนแพลตฟอร์ม Lazada ยกตัวอย่างเช่น แคมเปญ Lazada Payday มีรายละเอียดดังนี้

  • ค่าธรรมเนียมการชำระเงิน 3.21% เป็นค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นเมื่อผู้ซื้อทำธุรกรรมการชำระเงิน ผ่านช่องทางต่าง ๆ บน Lazada โดยอัตราค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 3.21% (รวม VAT 7%) ของราคาคำสั่งซื้อรวมค่าจัดส่งที่ชำระโดยผู้ซื้อ

  • ค่าธรรมเนียมการขาย (Commission) 3.21 – 5.35% เป็นค่าธรรมเนียมที่ Lazada จะเรียกเก็บจากผู้ขาย เมื่อมีการขายสินค้าผ่านแพลตฟอร์ม

  • โปรแกรมส่งฟรี 6.42% หรือทางร้านค้าออกค่าส่งเอง เป็นโปรโมชันที่จัดขึ้นเพื่อดึงดูดกลุ่มลูกค้า โดยตัวเลข 6.42% นี้คือ ส่วนลดเพิ่มเติมจากราคาสินค้า

  • คูปอง แคมเปญ (Laz Bonus) 5.35% เป็นส่วนลดพิเศษที่ได้รับจาก Lazada  เมื่อซื้อสินค้าตามเงื่อนไขที่กำหนดในแคมเปญ

ภาษีเงินได้ (Income Tax)

ภาษีเงินได้แบ่งเป็น 2 ประเภทตามสถานะของผู้ขาย:

1. บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax – PIT)


รายได้จากการขายสินค้าจะถือเป็น เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 (ตามมาตรา 40(8))
  • การคำนวณ:

1. รายได้รวม
รวมรายได้ทั้งหมดที่ได้รับ เช่น ค่าสินค้า (ที่ลูกค้าจ่าย)
2. หักค่าใช้จ่าย (เลือกได้ 1 วิธี):
  • หักแบบเหมา:  60% ของรายได้
  • หักตามจริง: ค่าใช้จ่ายที่มีเอกสารหลักฐาน
3. คำนวณเงินได้สุทธิ:
เงินได้สุทธิ = รายได้รวม – ค่าใช้จ่าย – ค่าลดหย่อน
4. เสียภาษีตามอัตราก้าวหน้า:
  • รายได้สุทธิน้อยกว่า 150,000 บาท: ยกเว้นภาษี

  • 150,001 – 300,000 บาท: 5%

  • 300,001 – 500,000 บาท: 10%

  • 500,001 – 750,000 บาท: 15%

  • 750,001 – 1,000,000 บาท: 20%

  • 1,000,001 – 2,000,000 บาท: 25%

  • 2,000,001 – 5,000,000 บาท: 30%

  • มากกว่า 5,000,000 บาท: 35%


2. นิติบุคคล (Corporate Income Tax – CIT)


  • รายได้จากการขายสินค้าจะถือเป็น รายได้จากการประกอบกิจการ

  • การคำนวณ:

1. รายได้รวม
2. หักค่าใช้จ่ายตามจริง
3. กำไรสุทธิ (Net Profit) – กำไรสุทธิ = รายได้รวม – ค่าใช้จ่ายทั้งหมด
4. เสียภาษีนิติบุคคล 15% สำหรับ SME

หมายเหตุ: กิจการที่เป็น SMEs อาจได้รับสิทธิประโยชน์ในการลดอัตราภาษีในช่วงแรก


ภาษีมูลค่าเพิ่ม


ในส่วนถัดมา คือ เรื่อง "ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat)" ซึ่งเป็นภาษีที่เก็บจากการขายสินค้าหรือการให้บริการ โดยอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มในปัจจุบันเป็นอัตรา 7% โดยตัวชี้วัดง่ายๆ ที่ทำให้พ่อค้าหรือแม่ค้าออนไลน์อย่างเรา จะรู้ได้ว่าต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่นั้น ต้องเช็กที่ยอดรายได้ หากรายได้ถึง 1.8 ล้านบาทต่อปี แน่นอนว่าเราต้องรีบไปจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มโดยทันที ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ

  • ภาษีขายคือ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ที่เราเรียกเก็บจากลูกค้า ซึ่งต้องคิดรวมอยู่ในราคาขายและค่าขนส่งไว้เรียบร้อยแล้ว

  • ภาษีขายภาษีมูลค่าเพิ่มที่เราถูก Supplier หรือว่า Shopee, Lazada เรียกเก็บไป ในอัตรา 7 % เช่นเดียวกัน สังเกตง่ายๆ จากใบกำกับภาษีที่เราได้รับมา


ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ถัดมาคือ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ซึ่งเป็นภาษีที่ผู้จ่ายมีหน้าที่หักจากเงินที่จ่ายให้แก่ผู้รับ แต่ก็ใช่ว่าทุกรายจ่ายจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเสมอไป เพราะกฎหมายกำหนดประเภทรายจ่ายที่ต้องหัก ณ ที่จ่ายเอาไว้ และอัตราการหัก ณ ที่จ่ายไว้เช่นกัน

เรียนรู้ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย แบบละเอียด เพิ่มเติมคลิก


ขายของใน shopee เสียภาษีไหม นรินทร์ทอง พร้อมให้คำปรึกษาและบริการครบวงจร

หากกล่าวโดยสรุปจากเนื้อหาข้างต้นที่หลายๆ คนสงสัยว่า ขายของใน shopee เสียภาษีไหม? คำตอบคือ "ต้องเสียภาษีเมื่อมีรายได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด" นอกจากนี้จะเห็นว่าการขายของบนแพลตฟอร์ม Shopee Lazada นั้น ส่งผลดีต่อร้านค้าในหลายด้าน แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อจำกัดที่เราไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ อย่างเช่น การโดนหักค่าธรรมเนียมต่างๆ ซึ่งทางที่ดีร้านค้าออนไลน์ ควรวางแผนภาษีขายออนไลน์ ให้ดี ยิ่งไปกว่านั้นหากคุณมีผู้เชี่ยวชาญ ที่สามารถให้คำปรึกษาด้านบัญชีและภาษีได้ ก็จะยิ่งช่วยให้ธุรกิจของคุณเติบโตอย่างมั่นคงยิ่งขึ้น และส่งผลดีในหลายๆ ด้าน ซึ่งสำนักงานบัญชีที่แนะนำ คือ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339


#4


การปิดงบการเงิน เป็นเรื่องสำคัญสำหรับเจ้าของกิจการ ไม่ว่าจะเป็นกิจการในรูปแบบบริษัทจำกัด หรือ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ดังนั้น ขั้นตอนการทำบัญชี เพื่อปิดงบการเงินจึง ต้องจัดหาผู้ทำบัญชีและผู้ตรวจสอบบัญชี ที่มีประสบการณ์ด้านบัญชีโดยตรง ดังนั้นหากใครที่เพิ่งเริ่มต้นทำธุรกิจ บทความนี้ นรินทร์ทอง จะชวนทุกคนมาทำความเข้าใจ เกี่ยวกับขั้นตอนการทำบัญชีเพื่อปิดงบการเงิน เพื่อเป็นประโยชน์แก่ธุรกิจในอนาคต





การปิดงบการเงิน คือ


การปิดงบการเงิน คือ รายงานทางบัญชีของธุรกิจ ที่ใช้สำหรับการแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ทางการเงิน อาทิเช่น ฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานของธุรกิจ รวมถึงกระแสเงินสดของกิจการในแต่ละงวดบัญชี

เข้าใจวิธีการปิดงบการเงิน เพิ่มเติม คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่


ขั้นตอนการทำบัญชี เพื่อปิดงบการเงิน


1. การระบุและวิเคราะห์ธุรกรรมทางธุรกิจ
ขั้นตอนการทำบัญชีจะเริ่มต้นด้วย การระบุและวิเคราะห์ธุรกรรม รวมถึงเหตุการณ์ทางธุรกิจ โดยข้อมูลทางธุรกรรมและเหตุการณ์บางส่วนนั้น จะถูกป้อนเข้าสู่ระบบบัญชี

2. การบันทึกบัญชีในสมุดรายวัน
การทำบัญชีในรูปแบบของการจดบันทึกลงในกระดาษ หรือการจดบันทึกแบบออนไลน์ เป็นการลงบันทึกทุกธุรกรรมลงในระบบ ซึ่งการทำธุรกรรมทางธุรกิจนั้น มักจะใช้วิธีบันทึกผ่านระบบบัญชีคู่

3. การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท
สมุดบัญชีสรุปข้อมูลทางธุรกรรม แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางบัญชีที่เกิดขึ้น ซึ่งถือเป็นผลลัพธ์จากธุรกรรมต่างๆ ที่ผ่านมา และแสดงให้เห็นถึงยอดคงเหลือที่มีอยู่

4. งบทดลองก่อนการปรับปรุง
จัดทำขึ้นเพื่อทดสอบว่า ข้อมูลยอดบันทึกบัญชีเดบิตและเครดิตนั้นเท่ากันหรือไม่ ซึ่งจะถูกแยกออกจากบัญชีแยกประเภท และจะถูกนำมารวมในรายงานสรุปฉบับเดียวกัน หลังจากนั้นยอดเดบิตและยอดเครดิตทั้งหมด จะถูกสรุปยอดบัญชี

5. การปรับปรุงรายการทางบัญชี
ถือเป็นการเตรียมการเพื่อนำไปสู่การบันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง ในขั้นตอนนี้จึงเป็นตรวจสอบและเพิ่มเติมยอดต่างๆ ในบัญชีให้เรียบร้อย ก่อนที่จะนำไปสรุปเป็นงบการเงินต่อไป


6. งบทดลองหลังปรับปรุง
งบทดลองหลังปรับปรุง สามารถทำได้หลังจากมีการปรับปรุงรายการต่างๆ และต้องจัดทำก่อนนำไปสรุปงบทางการเงิน จะแสดงให้เห็นว่า ยอดเดบิตและยอดเครดิตตรงกันหรือไม่

7. งบการเงิน
เมื่อนักบัญชีไปทำการปรับข้อมูล และเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ เรียบร้อยแล้ว ก็สามารถนำข้อมูลทางธุรกรรมเหล่านั้นมาสรุปงบการเงินได้ทันที

8. รายการปิดบัญชี
ควรทำเฉพาะบัญชีกำไรขาดทุน หรือบัญชีชั่วคราว ยกตัวอย่างเช่น การปิดบัญชีเพื่อนำไปสู่การทำบัญชีในรอบใหม่ โดยบัญชีกำไรขาดทุนจะรวมถึงรายได้และรายจ่ายด้วย

9. การดำเนินการหลังปิดงบบัญชีทดลอง
งานบัญชีสิ่งสุดท้ายที่จะต้องดำเนินการ คือ การเตรียมการสำหรับปิดบัญชีทดลอง ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบยอดเดบิตและเครดิต โดยบัญชีกำไรขาดทุนจะสามารถปิดงบได้ทันที

10. การกลับรายการทางบัญชี (ทางเลือกสำหรับการทำบัญชีใหม่)
ถือเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับการทำบัญชีใหม่ ซึ่งเป็นวิธีการเตรียมการในช่วงเริ่มต้นของรอบบัญชีใหม่ เพื่อให้การบันทึกบัญชีเป็นไปด้วยความถูกต้องและแม่นยำ



ทำความเข้าใจรายละเอียดการปิดงบการเงินแต่ละขั้นตอนเพิ่มเติม คลิกอ่านที่นี่



เรียนรู้ ขั้นตอนการทำบัญชี เพื่อปิดงบการเงิน ได้ง่ายๆ กับ นรินทร์ทอง

หากธุรกิจของคุณมีนักบัญชีที่ดี สามารถจัดเตรียมเอกสารครบถ้วน และสามารถสรุปงบการเงินทุกไตรมาส หรือทุกเดือนได้อย่างรวดเร็ว ก็จะยิ่งเป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานในธุรกิจยิ่งขึ้น ดังนั้นเราจึงขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น


  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339


#5


การ เพิ่มทุนจดทะเบียน เป็นขั้นตอนสำคัญสำหรับธุรกิจ โดยเฉพาะในกรณีที่ต้องการ เพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท หากคุณกำลังหาข้อมูล ไม่ว่าจะเป็น เอกสารที่ต้องใช้ หรือ ขั้นตอนการดำเนินการ คุณจะต้องไม่พลาดกับบทความนี้กับเรา นรินทร์ทอง !

ชวนผู้ประกอบการทำความเข้าใจ การเพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้าน อ่านบทความเพิ่มเติมคลิก



เพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท ต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง


  • แบบคำรับรองการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
  • แบบ บอจ.4: รายการจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติม และ/หรือ มติพิเศษ
  • แบบ บอจ.1: คำขอการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
  • หนังสือบริคณห์สนธิที่แก้ไขแล้ว จำนวน 1 ฉบับ
  • สำเนาหลักฐานการรับชำระค่าหุ้นเพิ่มทุน ที่บริษัทมอบให้ผู้ถือหุ้น
  • สำเนาบัตรประชาชนของกรรมการ ที่ลงชื่อขอจดทะเบียน
  • สำเนาหลักฐานการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อ (กรณีมีผู้รับรองลายมือชื่อ)
  • หลักฐานการอนุญาตให้เพิ่มทุน (ในกรณีที่ประกอบธุรกิจเฉพาะที่ต้องได้รับอนุญาต)
  • คำสั่งศาล (ในกรณีที่บริษัทอยู่ระหว่างการฟื้นฟูกิจการ)



ขั้นตอนการ เพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท


1. การเชิญประชุมผู้ถือหุ้น และ ลงหนังสือพิมพ์
  • ออกหนังสือนัดประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 14 วัน หรือตามที่บริษัทกำหนด

2. จัดประชุมผู้ถือหุ้น
  • จัดประชุมผู้ถือหุ้น ในมติพิเศษเพิ่มทุน และแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิที่มีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทุน
     
3. ยื่นคำขอต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (DBD)
  • โดยต้องจัดทำคำขอจดทะเบียน / ยื่นขอจดทะเบียน ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า (DBD)ภายใน 14 วันหลังมีมติ

4. ในกรณีของทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท
  • ห้างหุ้นส่วน และบริษัทจะต้องแสดงหลักฐานการชำระค่าหุ้น ตามที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากำหนด



เพิ่มทุนเกิน 5 ล้าน ต้องชำระเต็มไหม?


กฎหมายกำหนดให้ชำระขั้นต่ำเพียง 25% ของมูลค่าหุ้นใหม่ หากบริษัทมีข้อบังคับ หรือข้อตกลงที่กำหนดให้ชำระเต็มจำนวน จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของบริษัท

ตัวอย่างที่ : การชำระขั้นต่ำ 25% ตามกฎหมาย

สถานการณ์:
  • บริษัท A มีทุนจดทะเบียนเดิม 1 ล้านบาท (100,000 หุ้น หุ้นละ 10 บาท)
  • ต้องการเพิ่มทุนอีก 5 ล้านบาท โดยออกหุ้นใหม่ 500,000 หุ้น หุ้นละ 10 บาท

การชำระเงิน:
  • ตามกฎหมาย กำหนดให้ชำระขั้นต่ำ 25% ของมูลค่าหุ้นใหม่

คำนวณ:
  • 25% ของ 10 บาท = 2.50 บาทต่อหุ้น
  • 500,000 หุ้น × 2.50 บาท = 1,250,000 บาท
ส่วนที่เหลืออีก 3,750,000 บาท จะชำระในภายหลังตามที่บริษัทกำหนด

ทุนจดทะเบียนใหม่หลังเพิ่มทุน:

รวมทุนจดทะเบียนใหม่ = 1,000,000 บาท (เดิม) + 5,000,000 บาท (เพิ่ม) = 6,000,000 บาท



วิธีการแสดงหลักฐานการชำระหุ้นแก่เจ้าหน้าที่ ในกรณีเพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท


กรณีชำระส่วนลงหุ้น หรือ ชำระด้วยเงิน

1. เอกสารหลักฐานที่ธนาคารออกให้

2. หนังสือยืนยันจากหุ้นส่วนผู้จัดการหรือกรรมการผู้ขอจดทะเบียน


กรณีชำระส่วนลงหุ้นหรือค่าหุ้นด้วยสินทรัพย์

1. ทรัพย์สินมีทะเบียน ให้จัดส่งหนังสือยืนยันการรับชำระส่วนลงหุ้น หรือ ค่าหุ้นของห้างหุ่นส่วนหรือบริษัทจำกัด พร้อมสำเนาเอกสารแสดงว่าห้างหุ้นส่วน

2. ทรัพย์สินไม่มีทะเบียน ให้จัดส่งหนังสือยืนยันการรับชำระส่วนลงหุ้นหรือค่าหุ้นของห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทจำกัด พร้อมสำเนาบัญชีแสดงรายละเอียดทรัพย์สินนั้น


กรณีชำระส่วนลงหุ้นหรือค่าหุ้นด้วยแรงงาน

1. ให้จัดส่งหนังสือยืนยันการชำระส่วนลงหุ้นหรือค่าหุ้นด้วยแรงงานของห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทจำกัด พร้อมเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับแรงงานที่นำมาลงทุน


เรียนรู้การเพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้าน อ่านบทความเพิ่มเติมคลิก



โเพิ่มทุนเกิน 5 ล้านมีค่าธรรมเนียมเท่าไร?



  • การจดทะเบียนเพิ่มทุนบริษัทจำกัด:
    ค่าธรรมเนียม: 500 บาท

  • ขอหนังสือรับรอง:
    ค่าธรรมเนียม: 40 บาทต่อรายการ
    จำนวนรายการที่ต้องการอาจขึ้นอยู่กับข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น ชื่อบริษัท ที่อยู่ และข้อมูลทุนจดทะเบียน

  • การรับรองสำเนาเอกสารคำขอจดทะเบียน:
    ค่าธรรมเนียม: 50 บาทต่อหน้า
    จำนวนหน้าที่ต้องรับรองขึ้นอยู่กับความยาวของเอกสาร เช่น แบบคำขอจดทะเบียน หรือรายงานการประชุม


อ่านการเพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท แบบละเอียด ทำความเข้าใจไปกับนรินทร์ทอง


สรุปเพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาท

การเพิ่มทุนจดทะเบียนเกิน 5 ล้านบาทเป็นกระบวนการที่ต้องเตรียมเอกสาร และดำเนินการตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนด บริษัทที่ต้องการเพิ่มทุนจดทะเบียนควรวางแผนการเงินให้รอบคอบ และปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายหรือบัญชีเพื่อความถูกต้อง นรินทร์ทอง จำกัด ให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

#6


ปัจจุบันมีคนจำนวนมากหันมาขายของออนไลน์เพื่อสร้างรายได้ แต่ก็มีคนจำนวนไม่น้อย ไม่รู้เรื่องบัญชีและภาษี เกิดเป็นคำถามที่ว่า "ขายออนไลน์ต้องจ่ายภาษีไหม?" "หากไม่เคยส่งภาษี ขายของออนไลน์ โดนภาษีย้อนหลัง ต้องทำอย่างไร?" เรียนรู้ไปกับเรานริทร์ทองได้ในบทความนี้


ทำความเข้าใจเรื่องการ ยื่นภาษี ไปกับนรินทร์ทอง คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่



ขายออนไลน์ต้องจ่ายภาษีไหม?


ในกรณีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา: จะต้องยื่นภาษี เมื่อมีรายได้มากกว่า 10,000 บาทต่อเดือน หรือ 120,000 บาทต่อปี ถึงแม้จะไม่มีภาษีที่ต้องชำระก็ตาม


สรรพากรสามารถตรวจได้อย่างไรว่าเรากำลังขายออนไลน์


ทางสรรพากรสามารถตรวจสอบข้อมูลได้จาก กฏหมายภาษีอีเพย์เมนต์ (e-Payment) กฎหมายอิเล็กทรอนิกส์แพลตฟอร์ม ที่ให้ทุกสถาบันการเงิน แพลตฟอร์มขายสินค้า มีหน้าที่ต้องส่งข้อมูลให้กรมสรรมพากร


ภาษีย้อนหลัง คืออะไร


ภาษีย้อนหลัง หมายถึง การเก็บภาษีจากรายได้ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ผ่านมา หากทางเจ้าหน้าที่ตรวจพบว่าได้มีการละเลยในการชำระภาษี ก็ทำให้ถูกตรวจสอบย้อนหลัง
หลีกเลี่ยงการโดนภาษีย้อนหลัง อ่านบทความเต็มๆ คลิก

หลีกเลี่ยงการโดนภาษีย้อนหลัง อ่านบทความเต็มๆ คลิก



โดนภาษีย้อนหลังถูกปรับอย่างไร


ในกรณีเกินกำหนดเวลายื่นแบบ
  • ต้องระวางโทษค่าปรับไม่เกิน 2,000 บาท ตามมาตรา 35 แห่งประมวลรัษฎากร
  • เสียเบี้ยปรับเงินเพิ่ม 1-2 เท่าตามภาษีที่ต้องชำระ
  • เสียเงินเพิ่ม 1.5% ของภาษีที่ต้องจ่าย โดยเริ่มตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดให้ยื่นแบบ ไปจนถึงวันที่ชำระครบ
ในกรณียื่นแบบทันกำหนด แต่ชำระภาษีไม่ครบถ้วน
  • เสียเบี้ยปรับเงินเพิ่ม 0.5 – 1 เท่าตามภาษีที่ต้องชำระ
  • เสียเงินเพิ่ม 1.5% ของภาษีที่ต้องจ่าย โดยเริ่มตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดให้ยื่นแบบ ไปจนถึงวันที่ชำระครบ
ในกรณีเจตนาละเลยไม่ยื่นแบบภาษีภายในกำหนดเพื่อเลี่ยงภาษี มีค่าปรับดังนี้
  • มีโทษปรับทางอาญาสูงสุดไม่เกิน 5,000 บาท หรือจำคุกสูงสุด 6 เดือน
  • จ่ายเงินค่าปรับ 2 เท่า ของค่าภาษีที่จะต้องจ่าย
  • จ่ายเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนของภาษีที่ต้องจ่าย โดยนับตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดที่ให้ยื่นแบบภาษี ไปจนถึงวันที่จ่ายภาษีครบ
ในกรณีจงใจหลีกเลี่ยงการจ่ายภาษี
  • มีโทษปรับทางอาญาเริ่มตั้งแต่ 2,000 บาท หรือสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท หรือจำคุกตั้งแต่ 3 เดือน หรือสูงสุด 7 ปี
  • จ่ายเงินค่าปรับ 2 เท่า ของค่าภาษีที่จะต้องจ่าย
  • จ่ายเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนของภาษีที่ต้องจ่าย โดยนับตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดที่ให้ยื่นแบบภาษี ไปจนถึงวันที่จ่ายภาษีครบ


ในกรณีเจตนาละเลยไม่ยื่นแบบภาษีภายในกำหนดเพื่อเลี่ยงภาษี มีค่าปรับดังนี้
  • มีโทษปรับทางอาญาสูงสุดไม่เกิน 5,000 บาท หรือจำคุกสูงสุด 6 เดือน
  • จ่ายเงินค่าปรับ 2 เท่า ของค่าภาษีที่จะต้องจ่าย
  • จ่ายเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนของภาษีที่ต้องจ่าย โดยนับตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดที่ให้ยื่นแบบภาษี ไปจนถึงวันที่จ่ายภาษีครบ
ในกรณีจงใจหลีกเลี่ยงการจ่ายภาษี
  • มีโทษปรับทางอาญาเริ่มตั้งแต่ 2,000 บาท หรือสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท หรือจำคุกตั้งแต่ 3 เดือน หรือสูงสุด 7 ปี
  • จ่ายเงินค่าปรับ 2 เท่า ของค่าภาษีที่จะต้องจ่าย
  • จ่ายเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนของภาษีที่ต้องจ่าย โดยนับตั้งแต่วันที่พ้นกำหนดที่ให้ยื่นแบบภาษี ไปจนถึงวันที่จ่ายภาษีครบ

ขายของออนไลน์โดนภาษีย้อนหลัง ควรทำอย่างไร


1. ตรวจสอบเอกสาร: เอกสารรายได้ และ เอกสารที่เกี่ยวข้อง จากปีที่โดนภาษีย้อนหลัง

2. เช็กรายการภาษีที่เกี่ยวข้อง.
  • ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT)
  • ภาษีเงินได้นิติบุคคล
  • ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

3. ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีและภาษี: เพื่อให้คุณสามารถจัดการปัญหาได้อย่างถูกต้อง
4. เจรจากับกรมสรรพากร: ในกรณีที่มีเงินสดไม่เพียงพอ สามารถเจรจาขอผ่อนชำระเป็นงวดๆ ได้ 
5. ปรับปรุงการทำบัญชี: หลังจากแก้ไขปัญหาแล้ว ควรจัดการระบบบัญชีให้ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาในอนาคต


เรียนรู้วิธีรับมือ ขายของออนไลน์ โดนภาษีย้อนหลัง แบบละเอียด คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่


ป้องกันปัญหาโดนยื่นภาษีย้อนหลัง แนะนำให้ปรึกษาสำนักงานยื่นบัญชีและภาษีที่มีความเชี่ยวชาญ มีบริการครบวงจร ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น


  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#7

นรินทร์ทองให้บริการรับจดทะเบียนนิติบุคคลทุกรูปแบบ ห้างหุ้นส่วน (หจก) บริษัทจำกัด (บจก) ถูกต้องรวดเร็ว ภายใน 1 วัน

มีประสบการณ์มากกว่า 100 เคส พร้อมสิทธิพิเศษ ปรึกษาวางแผนการทำบัญชี และ ส่วนลดเมื่อทำบัญชีกับเรา

เริ่มต้นธุรกิจอย่างมั่นคงกับเรานรินทร์ทอง

เริ่มต้น 5,000 บาท (Walk In)
*ไม่รวมค่าธรรมเนียมการจัดตั้ง*

Tel: 081-627-6872
LINE: @Narinthong


จดทะเบียนบริษัท กับเราเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดสำหรับธุรกิจของคุณ

1. บริการครบวงจร

เราให้คำปรึกษาทุกขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มจดทะเบียนนิติบุคคล พร้อมคำแนะนำในการเริ่มต้นธุรกิจ และการวางโครงสร้างธุรกิจอย่างถูกต้อง เพื่อให้คุณดำเนินกิจการได้อย่างมั่นคงในระยะยาว


2. รวดเร็ว

ด้วยประสบการณ์กว่า 10 ปี เรามั่นใจในความเร็วและประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาเพียง
ไม่เกิน 1 วันในการจดทะเบียนหลังจากตรวจสอบเอกสารครบถ้วน

3. ค่าบริการสมเหตุสมผล

ราคาเป็นมิตรกับธุรกิจ พร้อมบริการจดทะเบียนโดยการ Walk-in ที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
เพื่อความสะดวกและรวดเร็ว


Pain Point ปัญหาของคุณ

การเลือกรูปแบบธุรกิจที่เหมาะสม

เราให้คำปรึกษาตั้งแต่รูปแบบของธุรกิจ ให้คุณได้รูปแบบที่เหมาะสมกับกิจการ สร้างแนวทางดำเนินธุรกิจให้ถูกต้องตามกฎหมาย พร้อมให้คำปรึกษาประหยัดภาษีอย่างถูกวิธี


เพิ่งจดทะเบียนบริษัทไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไร
การวางแผนธุรกิจที่ครอบคลุม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจัดทำบัญชี การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือการยื่นแบบภาษีต่างๆ การมีที่ปรึกษาที่เชี่ยวชาญจะช่วยให้คุณเริ่มต้นธุรกิจได้อย่างมั่นคง

 
ขั้นตอนในการดำเนินการยุ่งยาก
การจดทะเบียนบริษัทอาจมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และต้องใช้เอกสารหลายประเภท ทำให้ผู้ประกอบการที่ไม่มีประสบการณ์ เกิดความสับสนเกี่ยวกับเอกสาร แต่ที่ นรินทร์ทอง เรามีผู้เชี่ยวชาญที่ช่วยให้คำปรึกษา ดำเนินการให้อย่างมืออาชีพ


ขั้นตอนจดทะเบียนบริษัท (Walk in)

การให้บริการ จดทะเบียนบริษัท กับ Narinthong มีขั้นตอนที่ง่ายและสะดวก ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 จองชื่อนิติบุคล
ทางสำนักงานบัญชีจะทำการจองชื่อนิติบุคคล ที่ต้องการใช้ในการจดทะเบียน อย่างน้อย 3 ชื่อ (ทั้งภาษาไทย-อังกฤษ)

ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมเอกสาร
ทางสำนักงานบัญชีจะขอสำเนาบัตรประชาชนของผู้ถือหุ้น และกรรมการผู้มีอำนาจ ไม่น้อยกว่า 2 คนขึ้นไป รวมถึงรายละเอียด และสำเนาของผู้ขอจดทะเบียน

ขั้นตอนที่ 3 จัดทำเอกสาร
สำนักงานบัญชีจะจัดเตรียมเอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับการจดทะเบียนให้ลูกค้าทำการตรวจสอบ และ รับรองข้อมูล

ขั้นตอนที่ 4 กำหนดผู้มีอำนาจ
ทางบริษัทจะจัดทำหนังสือ บริคณห์สนธิ เพื่อกำหนดกรรมการผู้มีอำนาจ ในบริษัท  และทำการประชุมจัดตั้ง

ขั้นตอนที่ 5 พร้อมยื่นแบบ
ทางบริษัทจะทำการเดินทางเพื่อนำส่งเอกสารจัดตั้งบริษัท กับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


ทางสำนักงานบัญชีรวบรวมเอกสาร สำหรับดำเนินการจดทะเบียนบริษัทสำหรับฝั่งลูกค้า

  • สำเนาบัตรประจำตัว / หนังสือเดินทาง (Passport) ของผู้เริ่มก่อการทุกคน
  • สำเนาบัตรประจำตัวของกรรมการทุกคน
  • สำเนาหลักฐานเป็นผู้รับรองลายมือชื่อ
  • สำเนาทะเบียนบ้าน / เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์คอนโด / เอกสารสัญญาเช่าที่ตั้งใหม่ ของสำนักงานใหญ่ และสาขา "พร้อมแผนที่และสถานที่สำคัญใกล้เคียง"
  • หนังสือรับรองเงินลงทุน ผู้ถือสัญชาติไทย (กรณีมีบุคคลต่างชาติเป็นผู้ถือหุ้น)
  • สำเนาหลักฐานการชำระค่าหุ้นที่บริษัทออกให้แก่ผู้ถือหุ้น
  • ตรายางบริษัท (ถ้ามี)
  • หลักฐานให้ความเห็นชอบในการจัดตั้งบริษัท เพื่อประกอบธุรกิจจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)


ราคาค่าบริการรับทำบัญชี



จดทะเบียนบริษัทแบบ Walk-in

฿ 5,000 บาท

- ระยะเวลาในการอนุมัติ
หากเอกสาที่ใช้ดำเนินการถูกต้องเรียบร้อยสามารถยื่น จัดการให้เสร็จภายใน 1 วัน

- ในกรณีที่มีข้อผิดพลาดสามารถแก้ไขได้ทันที
ในกรณีที่มีข้อผิดพลาด  สามารถแก้ไขได้ภายในวัน ทำให้การจดทะเบียนแบบ Walk In สามารถลดความล่าช้า ในการดำเนินการ

ข้อจำกัด คือ

- มีค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
การดำเนินการแต่ละครั้งจะเกิดค่าใช้จ่าย หากดำเนินการผิดพลาดก็จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

- ต้องเดินทางตามเวลาเปิด-ปิด
ต้องยื่นเอกสารในเวลาทำการของสำนักงาน ทำให้ไม่สะดวกเท่าในกรณีของการยื่นออนไลน์


จดบริษัทแบบออนไลน์

฿ 3,500

  • ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
    ไม่ต้องเดินทางไปสำนักงาน สามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลา
  • ตรวจสอบสถานะผ่านระบบออนไลน์
    สามารถติดตามสถานะของการจดทะเบียนผ่านระบบออนไลน์

ข้อจำกัด คือ

- ระยะเวลาในการอนุมัติ
ระยะเวลาขึ้นอยู่กับนายทะเบียน อาจมากถึง 3-7 วันทำการ หากดำเนินการแล้วเอกสารไม่เรียบร้อย ก็อาจทำให้เพิ่มระยะเวลาในการดำเนินการ

- ปัญหาทางเทคนิค
หากเกิดปัญหาทางเทคนิค เช่น ระบบล่ม อาจทำให้การดำเนินการล่าช้า


บริการออกแบบโลโก้ โดยกราฟฟิกมืออาชีพ

บริการออกแบบโลโก้ของเรา มุ่งเน้นสร้างสรรค์เอกลักษณ์ที่สะท้อนแบรนด์ของคุณอย่างชัดเจน
ด้วยทีมงานมืออาชีพที่เชี่ยวชาญในการใช้สี รูปทรง และสัญลักษณ์ที่เหมาะสม
เราพร้อมส่งมอบโลโก้ที่โดดเด่นและสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Tel: 081-627-6872
LINE: Narinthong


คำถามที่พบบ่อย

ทุกอย่างที่คุณควรรู้เกี่ยวกับการจดทะเบียนบริษัท

Q: ทำไมควรจดบริษัทกับ Narinthong?

A: เรามีทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญในการจดทะเบียนบริษัท พร้อมให้คำปรึกษาคุณทุกขั้นตอน เพื่อให้การจดทะเบียนของคุณเป็นไปอย่างราบรื่นและถูกต้องตามกฎหมาย


Q: บริการจดทะเบียนบริษัทกับ Narinthong ครอบคลุมอะไรบ้าง?

A: เราให้บริการจดทะเบียนบริษัทครบวงจร ตั้งแต่การให้คำปรึกษาเบื้องต้น การติดตามผล และการให้คำปรึกษาหลังการจดทะเบียน


Q: ค่าใช้จ่ายการจดทะเบียนบริษัทกับ Narinthong เป็นอย่างไร?

A: เรามีแพ็คเกจบริการที่หลากหลายและยืดหยุ่นให้เลือกตามความต้องการของธุรกิจคุณ รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถดูได้ที่เว็บไซต์ของเรา


Q: ใช้ระยะเวลากี่วันในการจดทะเบียนที่ Narinthong?

A: หากเอกสารถูกต้องเรียบร้อยสำหรับการจดทะเบียนบริษัท แบบ Walk in สามารถดำเนินการได้ภายใน 1-3 วันทำการ
#8

นรินทร์ทองให้บริการรับจดทะเบียนนิติบุคคลทุกรูปแบบ ห้างหุ้นส่วน (หจก) บริษัทจำกัด (บจก) ถูกต้องรวดเร็ว ภายใน 1 วัน

มีประสบการณ์มากกว่า 100 เคส พร้อมสิทธิพิเศษ ปรึกษาวางแผนการทำบัญชี และ ส่วนลดเมื่อทำบัญชีกับเรา

เริ่มต้นธุรกิจอย่างมั่นคงกับเรานรินทร์ทอง

เริ่มต้น 5,000 บาท (Walk In)
*ไม่รวมค่าธรรมเนียมการจัดตั้ง*

Tel: 081-627-6872
LINE: @Narinthong


จดทะเบียนบริษัท กับเราเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดสำหรับธุรกิจของคุณ

1. บริการครบวงจร

เราให้คำปรึกษาทุกขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มจดทะเบียนนิติบุคคล พร้อมคำแนะนำในการเริ่มต้นธุรกิจ และการวางโครงสร้างธุรกิจอย่างถูกต้อง เพื่อให้คุณดำเนินกิจการได้อย่างมั่นคงในระยะยาว


2. รวดเร็ว

ด้วยประสบการณ์กว่า 10 ปี เรามั่นใจในความเร็วและประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาเพียง
ไม่เกิน 1 วันในการจดทะเบียนหลังจากตรวจสอบเอกสารครบถ้วน

3. ค่าบริการสมเหตุสมผล

ราคาเป็นมิตรกับธุรกิจ พร้อมบริการจดทะเบียนโดยการ Walk-in ที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
เพื่อความสะดวกและรวดเร็ว


Pain Point ปัญหาของคุณ

การเลือกรูปแบบธุรกิจที่เหมาะสม

เราให้คำปรึกษาตั้งแต่รูปแบบของธุรกิจ ให้คุณได้รูปแบบที่เหมาะสมกับกิจการ สร้างแนวทางดำเนินธุรกิจให้ถูกต้องตามกฎหมาย พร้อมให้คำปรึกษาประหยัดภาษีอย่างถูกวิธี


เพิ่งจดทะเบียนบริษัทไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไร
การวางแผนธุรกิจที่ครอบคลุม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจัดทำบัญชี การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือการยื่นแบบภาษีต่างๆ การมีที่ปรึกษาที่เชี่ยวชาญจะช่วยให้คุณเริ่มต้นธุรกิจได้อย่างมั่นคง

 
ขั้นตอนในการดำเนินการยุ่งยาก
การจดทะเบียนบริษัทอาจมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และต้องใช้เอกสารหลายประเภท ทำให้ผู้ประกอบการที่ไม่มีประสบการณ์ เกิดความสับสนเกี่ยวกับเอกสาร แต่ที่ นรินทร์ทอง เรามีผู้เชี่ยวชาญที่ช่วยให้คำปรึกษา ดำเนินการให้อย่างมืออาชีพ


ขั้นตอนจดทะเบียนบริษัท (Walk in)

การให้บริการ จดทะเบียนบริษัท กับ Narinthong มีขั้นตอนที่ง่ายและสะดวก ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 จองชื่อนิติบุคล
ทางสำนักงานบัญชีจะทำการจองชื่อนิติบุคคล ที่ต้องการใช้ในการจดทะเบียน อย่างน้อย 3 ชื่อ (ทั้งภาษาไทย-อังกฤษ)

ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมเอกสาร
ทางสำนักงานบัญชีจะขอสำเนาบัตรประชาชนของผู้ถือหุ้น และกรรมการผู้มีอำนาจ ไม่น้อยกว่า 2 คนขึ้นไป รวมถึงรายละเอียด และสำเนาของผู้ขอจดทะเบียน

ขั้นตอนที่ 3 จัดทำเอกสาร
สำนักงานบัญชีจะจัดเตรียมเอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับการจดทะเบียนให้ลูกค้าทำการตรวจสอบ และ รับรองข้อมูล

ขั้นตอนที่ 4 กำหนดผู้มีอำนาจ
ทางบริษัทจะจัดทำหนังสือ บริคณห์สนธิ เพื่อกำหนดกรรมการผู้มีอำนาจ ในบริษัท  และทำการประชุมจัดตั้ง

ขั้นตอนที่ 5 พร้อมยื่นแบบ
ทางบริษัทจะทำการเดินทางเพื่อนำส่งเอกสารจัดตั้งบริษัท กับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


ทางสำนักงานบัญชีรวบรวมเอกสาร สำหรับดำเนินการจดทะเบียนบริษัทสำหรับฝั่งลูกค้า

  • สำเนาบัตรประจำตัว / หนังสือเดินทาง (Passport) ของผู้เริ่มก่อการทุกคน
  • สำเนาบัตรประจำตัวของกรรมการทุกคน
  • สำเนาหลักฐานเป็นผู้รับรองลายมือชื่อ
  • สำเนาทะเบียนบ้าน / เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์คอนโด / เอกสารสัญญาเช่าที่ตั้งใหม่ ของสำนักงานใหญ่ และสาขา "พร้อมแผนที่และสถานที่สำคัญใกล้เคียง"
  • หนังสือรับรองเงินลงทุน ผู้ถือสัญชาติไทย (กรณีมีบุคคลต่างชาติเป็นผู้ถือหุ้น)
  • สำเนาหลักฐานการชำระค่าหุ้นที่บริษัทออกให้แก่ผู้ถือหุ้น
  • ตรายางบริษัท (ถ้ามี)
  • หลักฐานให้ความเห็นชอบในการจัดตั้งบริษัท เพื่อประกอบธุรกิจจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)


ราคาค่าบริการรับทำบัญชี



จดทะเบียนบริษัทแบบ Walk-in

฿ 5,000 บาท

- ระยะเวลาในการอนุมัติ
หากเอกสาที่ใช้ดำเนินการถูกต้องเรียบร้อยสามารถยื่น จัดการให้เสร็จภายใน 1 วัน

- ในกรณีที่มีข้อผิดพลาดสามารถแก้ไขได้ทันที
ในกรณีที่มีข้อผิดพลาด  สามารถแก้ไขได้ภายในวัน ทำให้การจดทะเบียนแบบ Walk In สามารถลดความล่าช้า ในการดำเนินการ

ข้อจำกัด คือ

- มีค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
การดำเนินการแต่ละครั้งจะเกิดค่าใช้จ่าย หากดำเนินการผิดพลาดก็จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

- ต้องเดินทางตามเวลาเปิด-ปิด
ต้องยื่นเอกสารในเวลาทำการของสำนักงาน ทำให้ไม่สะดวกเท่าในกรณีของการยื่นออนไลน์


จดบริษัทแบบออนไลน์

฿ 3,500

  • ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
    ไม่ต้องเดินทางไปสำนักงาน สามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลา
  • ตรวจสอบสถานะผ่านระบบออนไลน์
    สามารถติดตามสถานะของการจดทะเบียนผ่านระบบออนไลน์

ข้อจำกัด คือ

- ระยะเวลาในการอนุมัติ
ระยะเวลาขึ้นอยู่กับนายทะเบียน อาจมากถึง 3-7 วันทำการ หากดำเนินการแล้วเอกสารไม่เรียบร้อย ก็อาจทำให้เพิ่มระยะเวลาในการดำเนินการ

- ปัญหาทางเทคนิค
หากเกิดปัญหาทางเทคนิค เช่น ระบบล่ม อาจทำให้การดำเนินการล่าช้า


บริการออกแบบโลโก้ โดยกราฟฟิกมืออาชีพ

บริการออกแบบโลโก้ของเรา มุ่งเน้นสร้างสรรค์เอกลักษณ์ที่สะท้อนแบรนด์ของคุณอย่างชัดเจน
ด้วยทีมงานมืออาชีพที่เชี่ยวชาญในการใช้สี รูปทรง และสัญลักษณ์ที่เหมาะสม
เราพร้อมส่งมอบโลโก้ที่โดดเด่นและสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Tel: 081-627-6872
LINE: Narinthong


คำถามที่พบบ่อย

ทุกอย่างที่คุณควรรู้เกี่ยวกับการจดทะเบียนบริษัท

Q: ทำไมควรจดบริษัทกับ Narinthong?

A: เรามีทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญในการจดทะเบียนบริษัท พร้อมให้คำปรึกษาคุณทุกขั้นตอน เพื่อให้การจดทะเบียนของคุณเป็นไปอย่างราบรื่นและถูกต้องตามกฎหมาย


Q: บริการจดทะเบียนบริษัทกับ Narinthong ครอบคลุมอะไรบ้าง?

A: เราให้บริการจดทะเบียนบริษัทครบวงจร ตั้งแต่การให้คำปรึกษาเบื้องต้น การติดตามผล และการให้คำปรึกษาหลังการจดทะเบียน


Q: ค่าใช้จ่ายการจดทะเบียนบริษัทกับ Narinthong เป็นอย่างไร?

A: เรามีแพ็คเกจบริการที่หลากหลายและยืดหยุ่นให้เลือกตามความต้องการของธุรกิจคุณ รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถดูได้ที่เว็บไซต์ของเรา


Q: ใช้ระยะเวลากี่วันในการจดทะเบียนที่ Narinthong?

A: หากเอกสารถูกต้องเรียบร้อยสำหรับการจดทะเบียนบริษัท แบบ Walk in สามารถดำเนินการได้ภายใน 1-3 วันทำการ
#9


การทำธุรกิจไม่ว่าในรูปแบบองค์กรหรือบริษัท ต่างก็ต้องมีการจัดทำบัญชี เพื่อจัดทำงบการเงิน และยื่นภาษีให้ถูกต้องตามกฎหมาย แต่คำถามสำคัญคือ ควร จ้างสำนักงานบัญชี หรือ จ้างพนักงานบัญชีประจำ? แต่ละรูปแบบมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกันอย่างไร? การจ้างพนักงานบัญชี และ การจ้างสำนักงานบัญชีทั้ง 2 รูปแบบนี้ มีความแตกต่างกันยังไง นรินทร์ทอง หาคำตอบมาให้คุณแล้วในบทความนี้


ทำความเข้าใจการ จ้างสํานักงานบัญชี กับ จ้างพนักงาน แบบไหนเหมาะกับธุรกิจ อ่านเพิ่มเติมคลิก


ควร จ้างสำนักงานบัญชี เมื่อไร

1. ขนาดของกิจการ
เพราะขนาดกิจการของผู้ประกอบการ สามารถเป็นตัวชี้วัดได้ว่า ถึงเวลาแล้วหรือยังสำหรับการจ้างทำบัญชี โดยแบ่งกิจการออกเป็น 2 ขนาด ได้แก่
  • กิจการขนาดเล็ก - มีเจ้าของเพียงคนเดียว เป็นธุรกิจค้าขายที่ไม่ซับซ้อน และมีบิลซื้อขาย เอกสารทางบัญชีไม่มาก อย่างเช่น การขายของออนไลน์
  • กิจการขนาดกลางขึ้นไป -  หากเป็นธุรกิจขนาดกลาง ที่มีรายการบัญชีจำนวนมาก เมื่อเจ้าของธุรกิจได้ประเมินแล้วว่า การจัดทำบัญชี สามารถช่วยลดหย่อนภาษีและประหยัดค่าใช้จ่ายทางภาษี และ เพิ่มผลกำไรให้กับบริษัท ในกรณีนี้ควรจ้างสำนักงานบัญชี
2. ค่าใช้จ่ายในการจ้างคนทำบัญชี
เรื่อง "ค่าใช้จ่าย" เป็นอีกหนึ่งองค์ประกอบ ที่ผู้ประกอบการมักจะเป็นกังวล  เพราะบางคนอาจจะมีความไม่พร้อม ในเรื่องของเงินทุนการจ้างทำบัญชี ยกตัวอย่างเช่น
  • กิจการเปิดใหม่ - กิจการขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ที่ยังไม่ได้มีการจดทะเบียนนิติบุคคล หากทุนยังไม่เพียงพอต่อการดำเนินการ ในเรื่องการจ้างทำบัญชี มีรายได้เข้ามาไม่มาก
  • กิจการที่มีการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล - ตามหลักแล้วควรจ้างทำบัญชี แต่ถ้าหากยังไม่พร้อมเรื่องค่าใช้จ่าย อาจจ้างในกรณีที่ต้องการปรึกษา
  • กิจการที่มีความพร้อมในเรื่องเงินทุน - ผู้ประกอบการควร จ้างสำนักงานบัญชี ให้จัดการเรื่องบัญชีและภาษีทั้งหมด ในอนาคตเมื่อธุรกิจมีการขยายขนาดองค์กร

จ้างสํานักงานบัญชี กับ จ้างพนักงาน แบบไหนเหมาะกว่ากัน
การจ้างพนักงานบัญชี หรือ จ้างสำนักงานบัญชี เป็นทางเลือกหนึ่งของผู้ประกอบการที่ต้องการคนมาช่วยดูแล เรื่องบัญชีและภาษีให้กับธุรกิจ ทาง นรินทร์ทอง เราจึงได้จำแนกข้อดี - ข้อเสีย ของการจ้างทำบัญชีรูปแบบต่างๆ มาให้ดูกัน

การจ้างพนักงานบัญชีประจำ


ข้อดี
ข้อดีของการจ้างพนักงานบัญชีประจำ คือ
  • มีความสะดวกและรวดเร็ว - การจ้างพนักงานบัญชีประจำในองค์กร ทำให้สามารถตอบสนองงานต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว
  • ควบคุมงานได้อย่างใกล้ชิด - สามารถควบคุมงานได้อย่างใกล้ชิด หรือเรียกดูงานได้ตลอดเวลา
  • สื่อสารกับพนักงานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว - สามารถมอบหมายงานได้ทันที หรือหากต้องการแก้ไขในส่วนไหนก็สามารถแจ้งได้ทุกเมื่อ
  • รักษาข้อมูลทางบัญชีที่เป็นความลับของบริษัทได้ - แต่ละบริษัทจะมีข้อมูลทางบัญชีที่เป็นความลับ
ข้อเสีย
  • ประสบการณ์ในการทำงาน - หากพนักงานบัญชีที่คุณจ้างมา ไม่มีความชำนาญด้านบัญชีและภาษีมากพอ คุณอาจจะต้องเสียค่าใช้จ่ายนอกเหนือจากค่าจ้าง
  • เพิ่มต้นทุนให้กับธุรกิจ - มีต้นทุนสูง เจ้าของธุรกิจต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายประจำเดือน
  • ลดความเสี่ยงจากความผิดพลาด - ไม่ว่าจะเป็น ข้อมูลความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับ รายรับ, รายจ่าย, งบกำไรขาดทุน และอื่นๆ
  • มีมาตรฐานการทำงานและการตรวจสอบ - ทางสำนักงานบัญชีมีช่องทางการติดต่อชัดเจนสามารถให้คำปรึกษาได้
  • ได้ที่ปรึกษาทางด้านบัญชี การเงิน และภาษี - หากผู้ประกอบการอยากสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลด้านบัญชี การเงิน และภาษี

อ่านข้อดี-ข้อเสียการจ้างพนักงานประจำ กับ สำนักงานบัญชี เพิ่มเติมคลิก


สำนักงานแบบไหนที่ควรจ้าง


  • การให้บริการ
สำนักงานบัญชีที่ดีจะสามารถให้คำปรึกษา แนะนำการจัดการเอกสาร และระบบบัญชีได้ มีการให้บริการหลากหลายรูปแบบ
  • การติดต่อประสานงาน
สำนักงานบัญชีที่ดีต้องมีช่องทางที่สามารถให้ลูกค้า สามารถสอบถามปัญหาต่างๆ ได้ และมีการตอบกลับอย่างรวดเร็ว
  • มีค่าบริการกำหนดชัดเจน
มีการเขียนรายละเอียดค่าใช้จ่ายในแต่ละรายการอย่างชัดเจน
  • ราคาสมเหตุสมผล
ราคาที่เหมาะสม สำหรับธุรกิจขนาดกลาง ราคาควรที่จะไม่ต่างจากการจ้างพนักงานบัญชี 1 คน หรือแตกต่างกันไม่มาก
  • ความซื่อสัตย์
สำนักงานบัญชีที่เลือกใช้บริการจะต้องสามารถตรวจสอบ ค่าภาษีหรือประกันสังคมแบบเป็นเช็กหรือเงินโอนได้
  • ประสบการณ์
ควรจ้างสำนักงานบัญชีที่มีประสบการณ์ตรงกับธุรกิจที่ทำ สามารถให้ข้อมูลได้อย่างตรงจุด
  • วิธีการทำงานของสำนักงานบัญชี
เมื่อคุณรู้วิธีการทำงานของสำนักงานบัญชี จะทำให้คุณรู้ถึงกระบวนการทำงานภายในว่า ถูกตรงตามที่ต้องการหรือไม่ หรือถ้าเป็นไปได้อาจขอดูงานว่าเป็นอย่างไร
อยากจ้างสำนักงานบัญชีดีๆ เหมาะกับธุรกิจ คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมที่นี่


สรุปข้อดีของการ จ้างสำนักงานบัญชี ที่เหมาะสมกับธุรกิจ

โดยสรุปแล้วการ จ้างสำนักงานบัญชี ที่มีน่าเชื่อถือ และเหมาะสมกับธุรกิจ ให้เข้ามาดูแลด้านบัญชีและภาษีของธุรกิจโดยเฉพาะ จะช่วยแบ่งเบาภาระของผู้ประกอบการ นอกจากนี้ยังเปรียบเสมือนกับว่าบริษัทมีที่ปรึกษาส่วนตัว เกี่ยวกับเรื่องของหน้าที่ต่างๆ ที่บริษัทจะต้องทำเพื่อความถูกต้อง เช่น เรื่องการทำภาษีหัก ณ ที่จ่าย, การออกใบกำกับภาษีต่างๆ ซึ่งสำนักงานบัญชีจะเข้ามาเป็นผู้ช่วยหรือเป็นที่ปรึกษาในส่วนนี้ได้

ดังนั้นสำหรับใครที่กำลังมองหาสำนักงานบัญชี ที่สามารถให้คำปรึกษาในเรื่องของบัญชีและภาษี ให้กับธุรกิจของคุณได้อย่างมืออาชีพ ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339


#10


"การทำบัญชี" มีความสำคัญต่อธุรกิจอย่างมาก แต่ก็มีความซับซ้อนไม่น้อย ดังนั้นการจัดทำบัญชี จึงเป็นเรื่องที่ต้องทำโดยผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ ส่วนเรื่องค่าใช้จ่าย หลายๆ คนอาจจะเกิดคำถามว่า จ้างสำนักงาน รับทําบัญชีราคา เท่าไหร่? บทความนี้ นรินทร์ทอง จึงอยากมาแนะนำบริการด้านต่างๆ รวมถึงบอกวิธี่การเตรียมตัวก่อนจ้างสำนักงานบัญชี


ทำความรู้จัก นรินทร์ทอง สำนักงานรับทําบัญชีและยื่นภาษีให้มากขึ้น คลิกอ่านที่นี่


ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับราคา

ก่อนอื่นเรามาดูกันว่ามีปัจจัยใดบ้าง ที่มีผลต่อการคิดค่าบริการทำบัญชีของสำนักงานบัญชี
สโคปในการทำงาน
อย่างแรกต้องดูว่า ทางบริษัทจ้างสำนักงานบัญชีเข้ามาดูแลในส่วนไหนบ้าง โดยทั่วไปแล้วหน้าที่หลักๆ ของสำนักงานบัญชี คือ
  • ปิดบัญชีทั่วไป ประกอบไปด้วย
  • การยื่นภาษี และ ประกันสังคมรายเดือน
  • การยื่นภาษีประจำปี
  • การยื่นงบการเงิน
มาตรฐานในการบัญชีของบริษัท
มาตรฐานการบัญชีของบริษัทโดยทั่วไป ประกอบไปด้วย การรวบรวมหลักฐานเอกสารที่เกี่ยวข้องทางการเงิน, การจดบันทึกหลักฐานทางการเงิน, การจำแนกประเภทหรือแยกบัญชีให้เป็นหมวดหมู่, การสรุปรวมข้อมูล และการจัดทำงบการเงิน
จำนวนเอกสาร ความซับซ้อนในตัวงาน
งานบัญชีจะมากหรือน้อยจะขึ้นอยู่กับจำนวนเอกสาร หรือธุรกิจมีความซับซ้อนมากน้อยขนาดไหน เช่น เดือนนี้มีเอกสารจำนวนกี่ใบ หรือมีรายรับรายจ่ายเท่าไหร่ภายในเดือนนี้
การจัดส่งเอกสาร
ทางสำนักงานบัญชีจะต้องนำส่งเอกสารรายการต่างๆ ในแต่ละเดือนให้กับทางบริษัท ได้แก่ เอกสารรายได้ - ยอดขาย, เอกสารรายจ่าย, Statement และ รายงานการจ่ายเงินเดือน

เรียนรู้ปัจจัยที่เกี่ยวกับราคา ก่อนจ้างสำนักงานบัญชี เพิ่มเติมคลิก


บริษัทนรินทร์ทอง รับทําบัญชีราคา เท่าไหร่


ผู้ประกอบการท่านใด ที่สนใจใช้บริการกับ  บริษัทนรินทร์ทอง รับทำบัญชีและกฎหมาย[/url แต่ไม่รู้ว่าราคาเท่าไหร่ หัวข้อนี้เราจะมาแนะนำบริการต่างๆ ของทางนรินทร์ทอง
  • บริการ รับทำบัญชี รายเดือน ตามมาตรฐาน - รับเอกสารจากลูกค้า และ บันทึกบัญชี ส่งภาษีอากร ดูแลประกันสังคม ปิดงบการเงิน ไม่รวมการออกบิล ใบเสร็จ ใบแจ้งหนี้ เริ่มต้น 3,500 บาท
  • รับปรึกษาด้านบัญชี และภาษี - ให้คำปรึกษาวางแผนการทำบัญชีช่วยประหยัดภาษี อย่างถูกต้องตามกฎหมายเริ่มต้น 10,000 บาท
  • บริการบัญชีออนไลน์ - ลูกค้าจัดส่งเอกสารผ่านโปรแกรมบัญชีออนไลน์ ไกลแค่ก็ทำบัญชีกับเราได้ เราพร้อมให้บริการ

สนใจใช้บริการกับ บริษัทนรินทร์ทอง คลิกอ่านบทความเต็มๆ ที่นี่



เลือกสำนักงาน รับทำบัญชีราคา คุ้มค่า บริการโดยผู้เชี่ยวชาญ ต้องที่ นรินทร์ทอง
1. บุคคลธรรมดา - รายได้หลักมาจาก เงินเดือน เบี้ยเลี้ยง โบนัส หรือ การรับจ้างทำงาน ซึ่งเป็นเงินได้ประเภท 40(1) และ 40(2) เงินได้ในกลุ่มนี้สามารถหักแบบเหมาได้ไม่เกิน 50% แต่รวมกันต้องไม่เกิน 100,000 บาท ทำให้เราไม่สามารถนำค่าใช้จ่ายในการดำเนินธุรกิจ มาใช้ได้อย่างเต็มที่ และ ยังมีอัตราภาษีในรูปแบบอัตราก้าวหน้าที่เพดานสูงถึง 35%
2. นิติบุคคล - ไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจขายออนไลน์ ธุรกิจร้านอาหาร ธุรกิจโรงพยาบาล รายได้ที่เกิดขึ้นจะต้องหักค่าใช้จ่ายได้แบบตามจริงเท่านั้น ซึ่งในรูปแบบบริษัท (นิติบุคคล) จะสามารถใช้ประโยชน์จากต้นทุนได้มากกว่าบุคคลธรรมดา ที่มีข้อจำกัดในเรื่องของประเภทเงินได้ นอกจากนี้ยังมีเพดานภาษีเพียงแค่ 15-20% เท่านั้น
อ่านรายละเอียด จดทะเบียนบริษัทประหยัุดภาษีจริงไหม? เพิ่มเติม คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่

โครงสร้างบริษัท



นอกจากจะมองหาสำนักงานบัญชีที่มีบริการ รับทำบัญชีราคา คุ้มค่าแล้ว ต้องเลือกสำนักงานบัญชีที่สามารถ ให้คำปรึกษาในเรื่องบัญชีและภาษีได้, ติดต่อง่าย และ มีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฎหมายกำหนด ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่บ่งบอกว่าสำนักงานบัญชี ที่คุณเลือกใช้บริการนั้นได้มาตรฐาน ดังนั้นหากใครที่กำลังมองหาสำนักงานรับทำบัญชีราคาคุ้มค่า และให้บริการ บริการโดยผู้เชี่ยวชาญ ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#11


เริ่มต้นทำธุรกิจควรจดทะเบียนบริษัทเลยดีไหม? บทความนี้ทาง นรินทร์ทอง นำข้อควรรู้ก่อน จดทะเบียนบริษัท มาฝากทุกคนกัน! เพราะข้อดีของการรู้ข้อมูลก่อน จะทำให้คุณสามารถเตรียมวางแผนด้านต่างๆ ได้อย่างราบรื่น


เตรียมพร้อมก่อนเริ่มต้น จดทะเบียนบริษัท คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่


นิติบุคคล คืออะไร

นิติบุคคล หมายถึง บุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้นมาให้มีสภาพเหมือนบุคคล โดยมีชื่อบริษัท เลขประจำตัวผู้เสียภาษี (เลขประจำตัวประชาชน) ดังนั้นการจดทะเบียนบริษัทนิติบุคคลขึ้นมา เปรียบเสมือนการสร้างตัวแทนทางกฏหมาย ของหุ้นส่วนกิจการหลายๆ คนรวมกัน

จดบริษัท ประหยัดภาษีจริงไหม ?

เชื่อว่าหลายคนในที่นี้คงอย่ารู้ว่า จดบริษัทช่วยประหยัดภาษีจริงไหม ? ก่อนหน้านี้ทาง นรินทร์ทอง ได้เขียนถึงเนื้อหานี้กันไปแล้ว ดังนั้นหัวข้อนี้เราจึงอยากมาเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายระหว่าง บุคคลธรรมดา กับ นิติบุคคล ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. บุคคลธรรมดา - รายได้หลักมาจาก เงินเดือน เบี้ยเลี้ยง โบนัส หรือ การรับจ้างทำงาน ซึ่งเป็นเงินได้ประเภท 40(1) และ 40(2) เงินได้ในกลุ่มนี้สามารถหักแบบเหมาได้ไม่เกิน 50% แต่รวมกันต้องไม่เกิน 100,000 บาท ทำให้เราไม่สามารถนำค่าใช้จ่ายในการดำเนินธุรกิจ มาใช้ได้อย่างเต็มที่ และ ยังมีอัตราภาษีในรูปแบบอัตราก้าวหน้าที่เพดานสูงถึง 35%
2. นิติบุคคล - ไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจขายออนไลน์ ธุรกิจร้านอาหาร ธุรกิจโรงพยาบาล รายได้ที่เกิดขึ้นจะต้องหักค่าใช้จ่ายได้แบบตามจริงเท่านั้น ซึ่งในรูปแบบบริษัท (นิติบุคคล) จะสามารถใช้ประโยชน์จากต้นทุนได้มากกว่าบุคคลธรรมดา ที่มีข้อจำกัดในเรื่องของประเภทเงินได้ นอกจากนี้ยังมีเพดานภาษีเพียงแค่ 15-20% เท่านั้น
อ่านรายละเอียด จดทะเบียนบริษัทประหยัุดภาษีจริงไหม? เพิ่มเติม คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่

โครงสร้างบริษัท
โครงสร้างบริษัท หลักๆ ประกอบไปด้วย กรรมการ และ ผู้ถือหุ้น ในส่วนของ ผู้ถือหุ้น หมายถึง เจ้าของธุรกิจ ซึ่งทางกฎหมายได้กำหนดเอาไว้ว่า ก่อนจดทะเบียนบริษัทจะต้องมีผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 2 คน โดยสัดส่วนอำนาจในบริษัทจะขึ้นอยู่กับว่า เราถือหุ้นมากหรือน้อยเพียงใด ส่วนกรรมการ หมายถึง คนที่ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ถือหุ้น มาเป็นคนบริหารงานในธุรกิจ
เข้าใจเรื่องทุน จดทะเบียนบริษัท
ทุนจดทะเบียนบริษัท คือ เงินที่ผู้เริ่มก่อการหรือผู้ถือหุ้นใช้ในการเริ่มต้นทำธุรกิจ ซึ่งกำหนดไว้ว่าจะต้องมีราคาไม่ต่ำกว่า 5 บาทต่อหุ้น เมื่อกฎหมายกำหนดให้การจดทะเบียนบริษัทต้องมีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป
รู้รายละเอียดเกี่ยวกับการ จดทะเบียนบริษัท มากขึ้น คลิกอ่านบทความเพิ่มเติมที่นี่

ค่าใช้จ่ายแฝง
เช่น การจัดทำเอกสารบัญชีและภาษี เอกสารรายได้ เอกสารค่าใช้จ่าย ฯลฯ ซึ่งถ้าหากไม่มีการเตรียมตัวให้ดี อาจทำให้มีค่าใช้จ่ายแฝงตามมาภายหลังจำนวนมาก


สรุปเรื่องควรรู้ก่อน จดทะเบียนบริษัท กับเรานรินทร์ทอง
เมื่ออ่านมาถึงตรงนี้จะเห็นว่า การจดทะเบียนบริษัท เพื่อเปลี่ยนจากบุคคลธรรมดา มาอยู่ในรูปแบบบริษัทจำกัด (นิติบุคคล) มีข้อดีในหลายๆ ด้าน หากคุณพบว่า บริษัทของคุณเริ่มมีต้นทุน ค่าใช้จ่าย และมีแนวทางการสร้างรายได้ที่ชัดเจนมากขึ้น พอที่จะเริ่มวางแผนโครงสร้างได้ นั่นเป็นสัญญาณบ่งบอกว่าคุณสามารถเริ่มต้น จดทะเบียนบริษัท ได้แล้ว แต่ก็อย่าลืมศึกษาข้อมูลให้ละเอียด เพราะการวางแผนก่อนจดทะเบียนบริษัทถือเป็นเรื่องที่สำคัญมาก
ซึ่งการเลือกสำนักงานบัญชีที่ดี ถือเป็นอีกส่วนสำคัญที่ช่วยให้ธุรกิจเติบโตได้อย่างมั่นคง ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339

#12


อยากวางแผนเปิดธุรกิจเป็นของตัวเอง แต่ยังคงเกิดข้อสงสัยว่า การ จดบริษัท ดีจริงไหม ช่วยประหยัดภาษีได้หรือไม่? วันนี้ นรินทร์ทอง ได้เตรียมข้อมูลในด้านต่างๆ เกี่ยวกับการจดทะเบียนบริษัทมาไว้ให้คุณแล้วในบทความนี้!

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ การจดบริษัทและภาษีให้มากขึ้น อ่านเพิ่มเติมที่นี่


จดบริษัทประหยัดภาษีจริงไหมเรียกว่าอะไร?

หัวข้อนี้ นรินทร์ทอง เราได้นำข้อมูลของอัตราภาษีบุคคลธรรมดา มาเปรียบเทียบกับนิติบุคคล เพื่อให้ทุกคนเข้าใจถึงอัตราการเสียภาษีของทั้ง 2 รูปแบบ

เปรียบเทียบอัตราภาษีบุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล SMEs
การเปรียบเทียบอัตราภาษีบุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล จะมีวิธีการคำนวณคือ เงินได้สุทธิ = เงินได้ - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน โดยภาษีสำหรับบุคคลธรรมดานั้น จะคิดบนอัตราก้าวหน้าตั้งแต่ 0-35% แต่สำหรับบริษัทจะเสียภาษีที่อัตราคงที่ ถ้าเป็นกิจการขนาดเล็ก SMEs จะไม่เสียภาษีสำหรับกำไร 300,000 บาทแรก 15% สำหรับฐานภาษีระหว่างช่วง 300,001-3,000,000 บาท และ 20% หลังจากนั้น และบริษัททั่วไปที่ไม่ใช่กิจการ SMEs จะเสียภาษีที่อัตราคงที่ 20% ทุกช่วงกำไรสุทธิ

ในกรณีที่ทำธุรกิจในรูปแบบบุคคลธรรมดา ถ้าหากเงินได้สุทธิมีจำนวนน้อย การทำธุรกิจในฐานบุคคลธรรมดาจะมีอัตราภาษีที่น้อยกว่า แต่ถ้าหากธุรกิจมีรายได้มาก และคาดการณ์ว่าจะเติบโตอีกในอนาคต การจดทะเบียนบริษัทจะช่วยให้เสียภาษีในอัตราที่ถูกกว่า ซึ่งสามารถนำเปรียบเทียบในรูปแบบตารางได้ดังนี้
- อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
1. เงินได้สุทธิ 1-150,000 บาท รายได้สุทธิ 0%
จะได้รับการยกเว้นภาษี
2. เงินได้สุทธิ 150,001-300,000 บาท รายได้สุทธิ 5%
จะต้องชำระอัตราภาษี 5%
3. เงินได้สุทธิ 300,001-500,000 บาท รายได้สุทธิ 10%
จะต้องชำระอัตราภาษี 10%
4. เงินได้สุทธิ 500,001 – 750,000 บาท รายได้สุทธิ 15%
จะต้องชำระอัตราภาษี 15%
5. เงินได้สุทธิ 750,001 – 1,000,000 บาท รายได้สุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
6. เงินได้สุทธิ 1,000,001 – 2,000,000 บาท รายได้สุทธิ 25%
จะต้องชำระอัตราภาษี 25%
7. เงินได้สุทธิ 2,000,001 – 3,000,000 บาท รายได้สุทธิ 30%
จะต้องชำระอัตราภาษี 30%
8. เงินได้สุทธิ 3,000,001 – 5,000,000 บาท รายได้สุทธิ 30%
จะต้องชำระอัตราภาษี 30%
9. เงินได้สุทธิมากกว่า 5,000,001 บาทขึ้นไป รายได้สุทธิ 35%
จะต้องชำระอัตราภาษี 35%

- อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล SMEs

1. เงินได้สุทธิ 1-150,000 บาท กำไรสุทธิ 0%
จะได้รับการยกเว้นภาษี
2. เงินได้สุทธิ 150,001-300,000 บาท กำไรสุทธิ 0%
จะได้รับการยกเว้นภาษี
3. เงินได้สุทธิ 300,001-500,000 บาท กำไรสุทธิ 15%
จะต้องชำระอัตราภาษี 15%
4. เงินได้สุทธิ 500,001 – 750,000 บาท กำไรสุทธิ 15%
จะต้องชำระอัตราภาษี 15%
5. เงินได้สุทธิ 750,001 – 1,000,000 บาท กำไรสุทธิ 15%
จะต้องชำระอัตราภาษี 15%
6. เงินได้สุทธิ 1,000,001 – 2,000,000 บาท กำไรสุทธิ 15%
จะต้องชำระอัตราภาษี 15%
7. เงินได้สุทธิ 2,000,001 – 5,000,000 บาท กำไรสุทธิ 15%
จะต้องชำระอัตราภาษี 15%
8. เงินได้สุทธิ 3,000,001 – 5,000,000 บาท กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
9. เงินได้สุทธิมากกว่า 5,000,001 บาทขึ้นไป กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%

- อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
1. เงินได้สุทธิ 1-150,000 บาท กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
2. เงินได้สุทธิ 1-150,000 บาท กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
3. เงินได้สุทธิ 150,001-300,000 บาท กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
4. เงินได้สุทธิ 300,001-500,000 บาท กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
5. เงินได้สุทธิ 500,001 – 750,000 บาท กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
6. เงินได้สุทธิ 750,001 – 1,000,000 บาท กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
7. เงินได้สุทธิ 1,000,001 – 2,000,000 บาท กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
8. เงินได้สุทธิ 2,000,001 – 5,000,000 บาท กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
9. เงินได้สุทธิ 3,000,001 – 5,000,000 บาท กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
10. เงินได้สุทธิมากกว่า 5,000,001 บาทขึ้นไป กำไรสุทธิ 20%
จะต้องชำระอัตราภาษี 20%
- สำหรับธุรกิจขนาดเล็กที่มีรายได้ไม่มาก เหมาะสมกับธุรกิจในรูปแบบบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล SMEs
- ธุรกิจที่มีรายได้มากและไม่เข้าเงื่อนไขเป็น SMEs เหมาะที่จะประกอบธุรกิจในรูปแบบนิติบุคคลมากกว่า การประกอบกิจการในฐานะบุคคลธรรมดา

ค่าใช้จ่ายแฝงในการ จดบริษัท

การประกอบธุรกิจในรูปแบบบริษัท ส่วนใหญ่หวังใช้ประโยชน์จากอัตราภาษีที่ถูกกว่าแบบบุคคลธรรมดา แต่ต้องแลกมาด้วยการจัดทำเอกสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การทำบัญชี การจัดส่งภาษี การจัดส่งงบการเงิน การจัดทำเอกสารรายได้ เอกสารค่าใช้จ่าย และอื่นๆ


ไม่อยากเสียเวลาจัดทำเอกสาร จ้างสำนักงานบัญชี นรินทร์ทอง คลิกอ่านเพิ่มเติมที่นี่



ใครควรจดทะเบียนบริษัท ?

จากเนื้อหาในข้างต้นจะเห็นว่า บุคคลที่พร้อมจดทะเบียนบริษัท คือ ผู้ประกอบการที่ธุรกิจเริ่มมีรายได้เพิ่มมากขึ้น ซึ่งถ้าหากคุณดำเนินธุรกิจในฐานะบุคคลธรรมดา และต้องเสียอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสูงกว่า 20% หรือมีรายได้สุทธิ (รายได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย) มากกว่า 750,000 บาทขึ้นไป นั่นเป็นสัญญาณบ่งบอกว่าคุณควรจดทะเบียนบริษัททันที อีกปัจจัยที่เป็นตัวช่วยตัดสินใจว่า คุณควรจดทะเบียนบริษัทหรือไม่ คือ การนำเอาปัจจัยต่างๆ ได้แก่ รายได้ ค่าใช้จ่าย และค่าลดหย่อนของกิจการ มาคำนวณภาษีเปรียบเทียบกัน ทั้งแบบบุคคลธรรมดา และแบบนิติบุคคล
สนใจ จด บริษัท สามารถ อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่



สรุป จดทะเบียนบริษัท ประหยัดภาษีจริงไหม
โดยสรุปแล้ว การจดทะเบียนบริษัทเป็นรูปแบบนิติบุคคล สามารถช่วยประหยัดภาษีได้มากกว่ารูปแบบบุคคลธรรมดาจริง และยังส่งผลดีต่อบริษัทในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของภาษี การหักค่าใช้จ่ายที่สามารถหักได้ตามจริง และ ยังเพิ่มความน่าเชื่อถือของธุรกิจได้ หากผู้ประกอบการท่านใดที่อยากหาผู้ช่วยที่สามารถให้คำปรึกษา ในเรื่องของบัญชีและภาษีให้กับกิจการของคุณได้อย่างมืออาชีพ ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด ให้บริการ รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#13


การที่เป็นเจ้าของกิจการของธุรกิจที่มีการว่าจ้างบริษัทที่ช่วยดูแลบัญชี แต่ยังคงเจอกับปัญหาที่ทำให้ปวดหัว เช่น มีการทำงานที่ล่าช้า หรือเอกสารเกิดข้อผิดพลาดอยู่เป็นประจำ วันนี้ นรินทร์ทอง จะมาแนะนำคุณเกี่ยวกับการเปลี่ยนสำนักงานบัญชี โดยเริ่มจากระยะเวลาที่เปลี่ยนควรเป็นช่วงไหน และขั้นตอนของการเปลี่ยนมีอะไรบ้าง


เปลี่ยนสำนักงานบัญชี ควรเปลี่ยนตอนไหน


เปลี่ยนระหว่างรอบ
ถือว่าเป็นช่วงเวลาที่เปลี่ยนอย่างกะทันหัน และต้องมีความจำเป็นอย่างมากในการเปลี่ยนสำนักงานบัญชี เพราะคุณต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม จากสำนักงานบัญชีเก่าที่ไม่ได้อยู่ครบปีตามสัญญา

เปลี่ยนตอนต้นรอบ
ช่วงที่นิยมเปลี่ยนสำนักงานบัญชีมากที่สุด คือ ตอนต้นรอบของบัญชีใหม่ เพราะการทำบัญชีในแต่ละรอบจะต้องมีการปิดบัญชี และส่งมอบเอกสารคืนให้กับผู้ประกอบการ (หากไม่ได้รับเอกสารต้องแจ้งกับทางสำนักงานบัญชี)

ซึ่ง 1 รอบของระยะเวลาในการทำบัญชี สามารถเริ่มต้นและสิ้นสุดในเดือนไหนก็ได้ แต่โดยส่วนมากจะเริ่มรอบในเดือนแรกของปี


ขั้นตอนการเปลี่ยนต้องทำอย่างไร?

รหัสผ่านตามช่องทางต่างๆ


  • ขอรหัสในการนำส่งงบการเงิน ทางกรมพัฒนาธุรกิจการค้าให้ส่งงบการเงินผ่านระบบออนไลน์ หรือ DBD e-Filing
  • ขอรหัสของการยื่นแบบนำส่งภาษี หากคุณเป็นผู้ประกอบการที่มีเกณฑ์ต้องเสียภาษี สามารถเข้าไปที่เว็บไซต์E-FILING
  • ขอรหัสที่ทำธุรกรรมของประกันสังคม ถ้าต้องทำเรื่องแจ้งเข้า – แจ้งออกจากประกันสังคม สามารถทำผ่านเว็บไซต์ สำนักงานประกันสังคม

เอกสารประกอบการบันทึกบัญชี


  • บิลซื้อและบิลขาย จะเกี่ยวข้องกับเงินที่เข้า – เงินที่ออก ซึ่งทางสำนักงานบัญชีจะทำเป็นชุดเอกสาร เช่น ใบสำคัญจ่าย และ ใบสำคัญรับ
  • แบบนำส่งภาษีและใบเสร็จ ประกอบไปด้วยแบบ ภ.ง.ด 1, ภ.ง.ด 3, ภ.ง.ด 53 และ ภ.พ. 30 กับส่งภาษีประจำปี ภ.ง.ด 50 และ ภ.ง.ด 51
  • ภาษีซื้อและภาษีขาย (กรณีที่มี) ถ้าคุณมีรายได้ต่อปีมากกว่า 1.8 ล้านบาท จะมีการจัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บ VAT อยู่ที่ 7%
  • แบบนำส่งประกันสังคมและใบเสร็จรับเงิน นายจ้างหรือผู้ประกอบการที่มีการขึ้นทะเบียนนายจ้างเรียบร้อยแล้ว จะต้องขอแบบนำส่งประกันสังคมกับใบเสร็จรับเงิน



ข้อมูลการบันทึกบัญชี


ข้อมูลที่ต้องได้รับคืน: เป็นการหายอดคงเหลือที่ถูกต้อง ณ วันสิ้นงวดบัญชี ของบัญชีทุน บัญชีสินทรัพย์ และบัญชีหนี้สิน
  • สมุดรายวันเฉพาะ คือ รายวันซื้อ, รายวันขาย, รายวันจ่าย และรายวันรับ
  • สมุดรายวันแยกประเภท มีการแยกประเภทออกเป็น 2 ส่วน คือ ประเภททั่วไป และ ประเภทย่อย
  • งบทดลอง มีทั้งหมด 5 หมวด คือ สินทรัพย์, หนี้สิน, ส่วนเจ้าของ, รายได้ และค่าใช้จ่าย
  • ทะเบียนทรัพย์สิน จะเป็นการตรวจสอบข้อเท็จจริงของทรัพย์สินที่คุณมีอยู่

ข้อมูลที่อาจจะมี: สมุดรายวันเฉพาะ, สมุดรายวันแยกประเภท, งบทดลอง และทะเบียนทรัพย์สิน
  • ทะเบียนลูกหนี้ ทะเบียนเจ้าหนี้ สำหรับผู้ประกอบการที่มีลูกหนี้การค้าหรือเจ้าหนี้การค้า
  • รายละเอียดสินค้าคงเหลือ ในกรณีที่ธุรกิจของคุณมีการจำหน่ายสินค้า
  • ยอดคงเหลือฝั่งสินทรัพย์และหนี้สิน การดำเนินธุรกิจของคุณมีสินทรัพย์และหนี้สินยอดคงเหลือในระดับที่สูง


ทำไมถึงต้องเตรียมตัวก่อนที่จะเปลี่ยนสำนักงานบัญชี?

การเตรียมตัวจะช่วยให้คุณเลือกระยะเวลาที่เหมาะสมอย่าง ตอนต้นรอบของบัญชีใหม่ เพื่อป้องกันการทำงานที่ซ้ำซ้อน และที่สำคัญอย่าลืมขอรหัสผ่าน ขอเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี รวมไปถึงขอข้อมูลการบันทึกบัญชีจากสำนักงานบัญชีที่เก่า




สนใจเปลี่ยนสำนักงานบัญชี ติดต่อได้ที่ นรินทร์ทอง!

เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชี และภาษี รวมไปถึงการจดทะเบียนนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบ บริษัท หรือห้างหุ้นส่วน ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี เพื่อให้ธุรกิจของคุณพัฒนาได้อย่างก้าวกระโดด และรู้ทุกการเคลื่อนไหวทางการเงิน เพื่อให้ธุรกิจของคุณเติบโตได้อย่างรวดเร็ว โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

ใครมีข้อสงสัย ต้องการคำปรึกษา สามารถติดต่อสอบถามได้ที่...
Facebook : [url="https://www.facebook.com/NarinthongAccounting/NarinthongOfficial"]NarinthongOfficial

E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#14


การแปรสภาพห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัทจำกัดสามารถทำได้ในปัจจุบัน เพราะกฎหมายได้มีการอำนวยความสะดวกให้สามารถแปรสภาพเป็นบริษัทได้โดยไม่ต้องเลิกห้างหุ้นส่วน และสามารถใช้ชื่อเดิมของห้างหุ้นส่วนได้ แต่ก็มีเงื่อนไขอยู่บ้างที่เราต้องปฏิบัติตาม โดยที่เงื่อนไขจะมีอะไรบ้างเรามาดูกัน


การเปลี่ยนจากห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัท สามารถทำได้ไหม? เรียกว่าอะไร?

การเปลี่ยนจากห้างหุ้นส่วนจำกัดเป็นบริษัทนั้นสามารถทำได้ โดยมีหลักเกณฑ์ง่ายๆคือ ต้องมีผู้ร่วมลงทุน 3 คนขึ้นไป



ทำไมต้องเปลี่ยน ห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัท?

ห้างหุ้นส่วนที่มีเป้าหมายในการขยายธุรกิจ เพิ่มความมั่นคงทางการเงิน หรือมีแผนที่จะทำธุรกิจร่วมกับนักลงทุนภายนอก มักจะต้องการแปรสภาพเป็นบริษัทจำกัด เพราะสามารถเพิ่มทุน ขายหุ้นให้บุคคลภายนอก และสร้างภาพลักษณ์ที่น่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น หรือเพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดของคู่สัญญาทางธุรกิจ กฎระเบียบ หรือกฎหมายที่กําหนดว่าธุรกิจบางอย่าง หรือธุรกรรมบางประเภท ต้องดําเนินการโดยนิติบุคคลที่ะเป็นบริษัทเท่านั้น


ข้อมูลที่ต้องใช้ในการ แปรสภาพห้างหุ้นส่วน

  • ชื่อของบริษัท
  • ที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ (ตั้งอยู่ ณ จังหวัดใด)
  • วัตถุที่ประสงค์ของบริษัทที่จะประกอบกิจการค้า
  • ข้อบังคับ (ถ้ามี)
  • จำนวนทุน (ค่าหุ้น) ที่เรียกชำระแล้ว อย่างน้อยร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียน
  • ชื่อ ที่อยู่ อายุของกรรมการ
  • ชื่อ ที่อยู่ อาชีพ สัญชาติ และจำนวนหุ้นของผู้ถือหุ้นแต่ละคน
  • รายชื่อหรือจำนวนกรรมการที่มีอำนาจลงชื่อแทนบริษัท (อำนาจกรรมการ)
  • ชื่อ เลขทะเบียนผู้สอบบัญชีรับอนุญาตพร้อมค่าตอบแทน
  • ตราสำคัญ

เอกสารแปรสภาพห้างหุ้นส่วนจำกัดเป็นบริษัทจำกัด


  • หนังสือบริคณห์สนธิ (เอกสารที่ระบุรายละเอียดของบริษัท)
  • บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น
  • ข้อบังคับบริษัท
  • หนังสือรับรองและสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของหุ้นส่วน
  • หนังสือแจ้งการขอแปรสภาพจากห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัท
  • กรอกรายละเอียดเพิ่มเติม ได้แก่ เงื่อนไขการลงนาม, จำนวนชำระทุนครั้งแรก, สัดส่วนของผู้ถือหุ้น
  • แต่ละท่าน, อาชีพของผู้ถือหุ้น, อีเมลและเบอร์โทรศัพท์ทุกท่าน




ขั้นตอนการแปรสภาพห้างหุ้นส่วน


1. จัดทำหนังสือตกลงยินยอมแปรสภาพห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัทจำกัด:  โดยต้องมีหนังสือแจ้งความยินยอมของผู้เป็นหุ้นส่วน โดยยื่นหนังสือไปยังกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ที่สำนักงานใหญ่ของห้างหุ้นส่วนตั้งอยู่   
2. จัดทำประกาศหนังสือพิมพ์:  ห้างหุ้นส่วนจำกัดต้องประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ์แห่งท้องที่อย่างน้อยหนึ่งคราว และมีหนังสือบอกกล่าว ไปยังเจ้าหนี้ของห้างหุ้นส่วนให้ทราบเรื่องที่ห้างหุ้นส่วน จะแปรสภาพเป็นบริษัทจำกัด
3. หากคู่ค้าไม่มีการคัดค้าน:  นับตั้งแต่ 30 วันที่มีการบอกกล่าว หากไม่มีผู้ใดคัดค้าน หุ้นส่วนจำกัดต้องจัดให้มีการประชุมผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคน เพื่อให้ความยินยอมและดำเนินการ
4. หุ้นส่วนผู้จัดการเดิมต้องส่งมอบกิจการ  ทรัพย์สิน บัญชี เอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ของห้างหุ้นส่วนจำกัด ให้แก่กรรมการบริษัทภายใน 14 วัน นับแต่วันที่ผู้เป็นหุ้นส่วนได้ให้ความยินยอมและดำเนินการในเรื่องต่าง ๆ
5. คณะกรรมการต้องยื่นคำขอจดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทจำกัด  ต่อนายทะเบียน ภายใน 14 วัน นับแต่วันที่ได้ดำเนินการครบถ้วนแล้วเมื่อนายทะเบียนรับจดทะเบียนแปรสภาพห้างหุ้นส่วนจำกัดเป็นบริษัทจำกัดแล้ว ห้างหุ้นส่วนจำกัดเดิมหมดสภาพการเป็นห้างหุ้นส่วนจำกัด และ ห้างหุ้นส่วนจำกัดที่จะแปรสภาพเป็นบริษัทจำกัด


จ้างแปรสภาพห้างหุ้นส่วน หรือทำเอง


จ้างสำนักงานบัญชี
ข้อดี:

1. ความรวดเร็ว: ผู้เชี่ยวชาญมีความรู้และประสบการณ์ สามารถดำเนินการให้เสร็จสิ้นได้รวดเร็ว
2. ลดความซับซ้อน: กระบวนการแปรสภาพมีขั้นตอนที่ซับซ้อน การจ้างจะช่วยลดความกังวลในเรื่องนี้
3. ความถูกต้อง: ผู้เชี่ยวชาญจะช่วยให้มั่นใจว่าทุกขั้นตอนถูกต้องตามกฎหมาย และหลีกเลี่ยงความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น
4. คำแนะนำเพิ่มเติม: สามารถให้คำแนะนำด้านกฎหมา ยหรือการบริหารที่เกี่ยวข้องกับการแปรสภาพ

ข้อเสีย:
1. ค่าใช้จ่าย: การจ้างผู้เชี่ยวชาญอาจมีค่าใช้จ่ายที่สูง ขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของงาน


แปรสภาพห้างหุ้นส่วน ด้วยตัวเอง
ข้อดี:
1. ประหยัดค่าใช้จ่าย: การดำเนินการเองจะช่วยลดค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายให้กับผู้เชี่ยวชาญ
2. การเรียนรู้: การทำเองจะทำให้เข้าใจขั้นตอนและเอกสารที่เกี่ยวข้องอย่างละเอียด ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการบริหารบริษัทในอนาคต

ข้อเสีย:
1. ใช้เวลาและทรัพยากร: การดำเนินการเองอาจใช้เวลามาก และต้องศึกษาขั้นตอนให้รอบคอบ
2. ความซับซ้อน: ขั้นตอนและเอกสารที่เกี่ยวข้องมีความซับซ้อน ซึ่งอาจทำให้เกิดความผิดพลาดหากไม่มีความรู้หรือประสบการณ์
ความไม่แน่นอน: หากเอกสารหรือขั้นตอนใดผิดพลาด อาจต้องกลับไปแก้ไขหรือดำเนินการใหม่




สรุป

การแปรสภาพห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัทจำกัดช่วยเพิ่มความมั่นคงและความน่าเชื่อถือให้กับธุรกิจของคุณ การเลือกดำเนินการเองหรือจ้างผู้เชี่ยวชาญขึ้นอยู่กับความซับซ้อนและเวลาที่มีอยู่ หากต้องการคำแนะนำหรือบริการด้านการแปรสภาพห้างหุ้นส่วนให้เป็นบริษัทจำกัด บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#15


การเพิ่มทุนจดทะเบียนบริษัท เป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ประกอบการที่ต้องการระดมเงินทุนจากผู้ถือหุ้นรายเก่า หรือผู้ถือหุ้นรายใหม่ สำหรับใครที่ไม่รู้ว่าขั้นตอนการเพิ่มทุนเป็นอย่างไร คุณจะต้องไม่พลาดกับบทความนี้จาก นรินทร์ทอง!


การ เพิ่มทุนจดทะเบียน คืออะไร และดีอย่างไร?


การเพิ่มทุนจดทะเบียน เป็นการที่บริษัทได้เปิดระดมเงินทุนจากผู้ถือหุ้น สำหรับคนที่สนใจ อย่าง ผู้ถือหุ้นรายเก่า หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหม่ที่อยากจะลงทุน โดยการเพิ่มทุนจดทะเบียนให้บริษัทมีมูลค่าที่สูงขึ้น จะทำให้เกิดข้อดีในเรื่องของ

  • ช่วยให้กิจการสามารถจ่ายเงินปันผลได้สูงขึ้น
  • ทำให้กิจการเกิดสภาพคล่อง
  • ปัญหาค่าใช้จ่ายของดอกเบี้ยลดลง
  • ธุรกิจดูมีความน่าเชื่อถือ
  • หมดปัญหากับยอดขาดทุนสะสม


การเสนอขายหุ้นเพื่อนำมาเพิ่มทุน มีทั้งหมดกี่รูปแบบ?



  • การเสนอขายให้กับผู้ถือหุ้นเดิม (Right Offering : RO) เป็นการขายหุ้นเพิ่มทุนให้กับผู้ถือหุ้นรายเก่า โดยตามสัดส่วนที่ตัวเองได้ถือหุ้นเอาไว้
  • การเสนอขายให้กับบุคคลในวงจำกัด (Private Placement : PP)สามารถขายได้ไม่เกิน 50 ราย หรือมูลค่าไม่เกิน 20 ล้านบาท ภายใน 12 เดือน
  • การเสนอขายให้กับประชาชน (Public Offering : PO) จะมีข้อจำกัดที่บริษัทเอกชนทั่วไป ต้องเป็นบริษัทที่มีการจดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์เท่านั้น


หากต้องการเพิ่มทุนจดทะเบียน จะต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง?


  • แบบ บอจ. 1
  • แบบคำรับรองการจดทะเบียนบริษัทจำกัด
  • แบบ บอจ.4
  • หนังสือบริคณห์สนธิที่ทำการแก้ไขแล้ว 1 ฉบับ
  • หลักฐานการอนุญาตให้เพิ่มทุน (ในกรณีที่ประกอบธุรกิจที่เฉพาะ)
  • สำเนาหลักฐานที่มีการรับชำระค่าหุ้นเพิ่มทุนของบริษัทที่ให้กับผู้ถือหุ้น
  • คำสั่งศาล (ในกรณีที่ฟื้นฟูกิจการ)
  • สำเนาบัตรประชาชนของกรรมการที่ลงชื่อขอจดทะเบียน
  • สำเนาหลักฐานการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อ (ถ้ามี)

ขั้นตอนของการเพิ่มทุนจดทะเบียน


  • ทางบริษัทจะต้องมีการประชุมผู้ถือหุ้น โดยออกหนังสือนัดประชุมที่มีการแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 14 วัน หรือตามที่บริษัทได้กำหนดเอาไว้
  • ในวันที่จัดประชุมผู้ถือหุ้น จะมีมติคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้น และมีสิทธิ์ออกเสียง ที่ไม่ต่ำกว่า 3 ใน 4 ของจำนวนเสียงทั้งหมด
  • หลังจากที่ทำการประชุมกันเสร็จเรียบร้อยแล้ว การจัดทำคำขอจดทะเบียน ถือว่าเป็นช่วงที่คุณต้องทำการเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้องเอาไว้ให้เรียบร้อย
  • นำเอกสารที่เตรียมเอาไว้ไปยื่นจดทะเบียนได้ที่สำนักงานพัฒนาธุรกิจทั้ง 7 เขต หรือ ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Registration)

สำหรับใครที่อ่านมาถึงตรงนี้ก็คงจะรู้แล้วว่า การเพิ่มทุนจดทะเบียนต้องมีการทำงานตามขั้นตอนและเตรียมเอกสาร จึงค่อนข้างเป็นเรื่องที่ยุ่งยากกับผู้ประกอบการบางราย หากคุณกำลังมองหาสำนักงานบัญชีที่มีความเชี่ยวชาญ ช่วยให้หมดปัญหากับความยุ่งยากที่ต้องเจอ แนะนำให้ติดต่อมาได้ที่ นรินทร์ทอง !


สนใจเพิ่มทุนจดทะเบียน นรินทร์ทอง ช่วยคุณได้ !

บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชี และภาษี รวมไปถึงการจดทะเบียนนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบ บริษัท หรือห้างหุ้นส่วน ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339