หากเลือกใช้คีย์เวิร์ดได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ก็จะยิ่งช่วยเพิ่ม Traffic คุณภาพ และเพิ่มโอกาสในการเปลี่ยนผู้เข้าชมเป็นลูกค้าได้มากขึ้น โดยวิธีทำ Keyword Research แบบที่เอเจนซี่ทำ SEO แนะนำ มีดังนี้
[ul]
มีเครื่องมือหลายตัวที่ช่วยให้คุณค้นหา และวิเคราะห์คีย์เวิร์ดที่มีศักยภาพได้ เช่น Google Keyword Planner , Ahrefs, SEMrush, และ Ubersuggest
[ul]
การวิเคราะห์เจตนาของผู้ค้นหา เป็นส่วนสำคัญในกระบวนการทำ SEO ที่จะช่วยให้เราเข้าใจ ว่าทำไมผู้ใช้ถึงค้นหาคีย์เวิร์ดนั้น ๆ และสามารถออกแบบเนื้อหา ที่ตอบโจทย์กับความต้องการของผู้ค้นหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้ใช้มักค้นหาคีย์เวิร์ด ด้วยวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภทหลัก ได้แก่
[ol]
ผู้ใช้ที่มีเจตนานี้มักจะค้นหาข้อมูล หรือความรู้บางอย่าง เช่น วิธีการ เทคนิค หรือคำแนะนำ ตัวอย่างเช่น คำค้นหา "วิธีเลือกซื้อนาฬิกาแบรนด์เนม" ซึ่งผู้ใช้ต้องการทราบข้อมูล เกี่ยวกับวิธีการเลือกซื้อที่ดีที่สุดสำหรับนาฬิกาแบรนด์เนม โดยไม่จำเป็นต้องซื้อทันที ซึ่งการสร้างเนื้อหาที่ให้ข้อมูลที่ละเอียด และครอบคลุมจะช่วยดึงดูดผู้ใช้ในกลุ่มนี้ได้อย่างดี
[ol]
ประเภท Navigational Intent นี้ เป็นเจตนาที่ผู้ใช้ต้องการเข้าถึงเว็บไซต์เฉพาะเจาะจง เช่น คำค้นหา "Instagram Login" ผู้ใช้ต้องการเข้าสู่หน้าล็อกอินของ Instagram ซึ่งแสดงว่าเจตนาของผู้ใช้นั้น คือการไปที่เว็บไซต์ หรือหน้าที่ระบุเพื่อทำกิจกรรมบางอย่าง ดังนั้น การทำ SEO สำหรับคำค้นหาประเภทนี้ จึงเน้นการทำให้เว็บไซต์ หรือหน้าที่ต้องการให้ง่ายต่อการค้นหา
[ol]
ในกรณีนี้ ผู้ใช้มีเจตนาที่จะทำการซื้อสินค้า เช่น คำค้นหา "ซื้อผลไม้สด ราคาถูก" ผู้ใช้ต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อผลไม้สดที่ราคาถูกที่สุด โดยการทำ SEO สำหรับคำค้นหาประเภทนี้ จะเน้นการให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขาย เช่น การเปรียบเทียบราคา หรือการนำเสนอสินค้าที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้เพื่อกระตุ้นให้เกิดการซื้อ
[ol]
ผู้ใช้ในกลุ่มนี้กำลังพิจารณาสินค้า หรือบริการอยู่ และต้องการเปรียบเทียบตัวเลือกต่าง ๆ ก่อนตัดสินใจซื้อ เช่น คำค้นหา "รีวิวเครื่องดูดฝุ่น ABC11" ก็คือผู้ใช้ต้องการหาข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับสินค้า หรือบริการที่ตนสนใจ โดยมักจะเปรียบเทียบตัวเลือกหลาย ๆ ตัวเพื่อเลือกซื้อสินค้าที่ดีที่สุด
ขอบคุณข้อมูลจาก https://www.iamcommonground.com/
[ul]
- ใช้เครื่องมือช่วยวิเคราะห์คีย์เวิร์ด
มีเครื่องมือหลายตัวที่ช่วยให้คุณค้นหา และวิเคราะห์คีย์เวิร์ดที่มีศักยภาพได้ เช่น Google Keyword Planner , Ahrefs, SEMrush, และ Ubersuggest
[ul]
- วิเคราะห์เจตนาของผู้ค้นหา (Search Intent)
การวิเคราะห์เจตนาของผู้ค้นหา เป็นส่วนสำคัญในกระบวนการทำ SEO ที่จะช่วยให้เราเข้าใจ ว่าทำไมผู้ใช้ถึงค้นหาคีย์เวิร์ดนั้น ๆ และสามารถออกแบบเนื้อหา ที่ตอบโจทย์กับความต้องการของผู้ค้นหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้ใช้มักค้นหาคีย์เวิร์ด ด้วยวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภทหลัก ได้แก่
[ol]
- Informational Intent (เจตนาหาข้อมูล)
ผู้ใช้ที่มีเจตนานี้มักจะค้นหาข้อมูล หรือความรู้บางอย่าง เช่น วิธีการ เทคนิค หรือคำแนะนำ ตัวอย่างเช่น คำค้นหา "วิธีเลือกซื้อนาฬิกาแบรนด์เนม" ซึ่งผู้ใช้ต้องการทราบข้อมูล เกี่ยวกับวิธีการเลือกซื้อที่ดีที่สุดสำหรับนาฬิกาแบรนด์เนม โดยไม่จำเป็นต้องซื้อทันที ซึ่งการสร้างเนื้อหาที่ให้ข้อมูลที่ละเอียด และครอบคลุมจะช่วยดึงดูดผู้ใช้ในกลุ่มนี้ได้อย่างดี
[ol]
- Navigational Intent (เจตนาหมายไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการ)
ประเภท Navigational Intent นี้ เป็นเจตนาที่ผู้ใช้ต้องการเข้าถึงเว็บไซต์เฉพาะเจาะจง เช่น คำค้นหา "Instagram Login" ผู้ใช้ต้องการเข้าสู่หน้าล็อกอินของ Instagram ซึ่งแสดงว่าเจตนาของผู้ใช้นั้น คือการไปที่เว็บไซต์ หรือหน้าที่ระบุเพื่อทำกิจกรรมบางอย่าง ดังนั้น การทำ SEO สำหรับคำค้นหาประเภทนี้ จึงเน้นการทำให้เว็บไซต์ หรือหน้าที่ต้องการให้ง่ายต่อการค้นหา
[ol]
- Transactional Intent (เจตนาซื้อสินค้า)
ในกรณีนี้ ผู้ใช้มีเจตนาที่จะทำการซื้อสินค้า เช่น คำค้นหา "ซื้อผลไม้สด ราคาถูก" ผู้ใช้ต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อผลไม้สดที่ราคาถูกที่สุด โดยการทำ SEO สำหรับคำค้นหาประเภทนี้ จะเน้นการให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขาย เช่น การเปรียบเทียบราคา หรือการนำเสนอสินค้าที่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้เพื่อกระตุ้นให้เกิดการซื้อ
[ol]
- Commercial Investigation Intent (เจตนาพิจารณาสินค้า)
ผู้ใช้ในกลุ่มนี้กำลังพิจารณาสินค้า หรือบริการอยู่ และต้องการเปรียบเทียบตัวเลือกต่าง ๆ ก่อนตัดสินใจซื้อ เช่น คำค้นหา "รีวิวเครื่องดูดฝุ่น ABC11" ก็คือผู้ใช้ต้องการหาข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับสินค้า หรือบริการที่ตนสนใจ โดยมักจะเปรียบเทียบตัวเลือกหลาย ๆ ตัวเพื่อเลือกซื้อสินค้าที่ดีที่สุด
ขอบคุณข้อมูลจาก https://www.iamcommonground.com/