• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ปูนปั้น

Menu

Show posts

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.

Show posts Menu

Messages - Lali

#1

ผู้ประกอบการท่านใดที่สนใจอยากลงทุนเปิดร้านขายยา แต่ไม่รู้ว่าจะต้องเริ่มต้นยังไง บทความนี้ นรินทร์ทอง เราได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการวางแผนทำ บัญชีร้านขายยา มาให้ทุกคนได้ศึกษาก่อนเริ่มลงทุน เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถทำธุรกิจ ได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย

ศึกษาก่อนเริ่มต้นทำธุรกิจร้านขายยา อ่านบทความเต็มได้ที่นี่



บัญชียาตามเงื่อนไขใบอนุญาตขายยา

  • บัญชีการขายยาควบคุมพิเศษ (ข.ย.7)
  • บัญชีการขายยาอันตราย เฉพาะรายการที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กำหนด (ข.ย.7)
  • บัญชีการขายยาตามใบสั่งยา ของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะ หรือผู้ประกอบการ
  • บำบัดโรคสัตว์ (ข.ย.9) (ทุกรายการ)
  • จัดทำรายงานการขายยา ตามประเภทที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยากำหนด (ข.ย.8) โดยให้เก็บบัญชีไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี


การทำธุรกิจเปิดร้านขายยา ต้องมีการวางแผนและดำเนินการอย่างละเอียดถี่ถ้วน เนื่องจากตลาดสุขภาพในปัจจุบัน มีการแข่งขันกันมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นการวางแผนทำบัญชีก่อนเปิดร้านขายยา จึงเป็นอีกหนึ่งแนวทางสำคัญที่จะช่วยให้ผู้ประกอบการ ประสบความสำเร็จ โดยการวางแผนทำบัญชีร้านขายยาในนามนิติบุคคล จะมีวิธีการเตรียมตัว ดังนี้

  • ต้องจัดทำบัญชีให้ครบถ้วน ตามมาตรฐานการบัญชี
  • จัดให้มีผู้ทำบัญชี
  • ส่งมอบเอกสารประกอบการลงบัญชีให้แก่ผู้ทำบัญชี
  • ต้องปิดบัญชีครั้งแรกภายใน 12 เดือน
  • จัดทำงบการเงิน และจัดให้มีผู้สอบบัญชี
  • จัดนำส่งงบการเงิน
  • ต้องเก็บรักษาบัญชี และเอกสารที่ใช้ประกอบการลงบัญชี


อ่านรายละเอียด การวางแผนทำ บัญชีร้านขายยา เพิ่มเติมคลิกที่นี่


ต้นทุน ของร้านขายยา


หลังจากที่ได้ทราบถึงขั้นตอนการวางแผนทำบัญชีร้านขายยากันไปแล้ว ในส่วนนี้เรามาดู ต้นทุนของร้านขายยากันบ้าง โดยต้นทุนที่ต้องใช้ก่อนเริ่มเปิดธุรกิจร้านขายยา จะมีตั้งแต่

1. ค่าอุปกรณ์
2. ค่ายา ค่าอาหารเสริม และอุปกรณ์ทางการแพทย์
3. ค่าเช่าร้าน
4. ค่าจ้างเภสัชกร และพนักงานประจำร้าน
5. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ


รายได้ ร้านขายยา


ในส่วนของ รายได้ร้านขายยา จะมาจากการขายยา และสินค้าภายในร้านเป็นหลัก โดยยาแต่ละกลุ่มจะได้กำไรไม่เท่ากัน โดยรายได้ของร้านขายยา หลักๆ จะแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่

1. รายได้หลัก ประกอบด้วย การขายยา, ค่าส่งเสริมการขาย และค่าบริการคัดกรองความเสี่ยง (ถ้ามี)
2. รายได้อื่น เช่น ดอกเบี้ย และอื่นๆ

ค่าใช้จ่าย ร้านขายยา


สำหรับค่าใช้จ่ายหลังจากที่เปิดร้านขายยาแล้ว จะมีทั้งค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร ซึ่งประกอบไปด้วย เงินเดือน, ค่าเช่า, ค่าน้ำประปา, ค่าไฟฟ้า, ค่าโทรศัพท์, ค่าใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม (Licensed Pharmacy), ค่าทำบัญชี, ค่าสอบบัญชี, ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน และอื่นๆ ทั้งนี้ค่าตอบแทนเภสัชกร ขึ้นอยู่กับสวัสดิการของแต่ละร้าน

ในกรณีขอยาควบคุม และ ยาอันตราย

กรณียาควบคุม หรือ ยาอันตราย ต้องให้เภสัชกรเป็นผู้บันทึกรายการ ซึ่งจะต้องบันทึกจำนวนยา และบันทึกบัญชีพร้อมลงลายมือกำกับด้วยตนเอง และต้องสังเกตรายละเอียดของยาแต่ละตัวให้ดี เช่น ยาที่มีตัวยาทรามาดอล (Tramadol) เป็นส่วนประกอบในตำรับยาเดี่ยวและยาสูตรผสม, ยาที่มีตัวยาเดกซ์โตรเมธอร์แฟน (Dextromethorphan) เป็นส่วนประกอบในตำรับยาเดี่ยวและยาสูตรผสม, ยาที่มีตัวยาในกลุ่มแอนติฮีสตามีน ตำรับยาเดี่ยวและยาสูตรผสม เฉพาะที่เป็นยารูปแบบยาน้ำ 11 ตัวยา ได้แก่ (1) Brompheniramine (2) Carbinoxamine (3) Chlorpheniramine (4) Cyproheptadine (5) Dexchlorpheniramine (6) Dimenhydrinate (7) Diphenhydramine (8) Doxylamine (9) Hydroxyzine (10) Promethazine (11) Triprolidine วิธีสังเกตยาที่กำหนดให้เป็น "ยาอันตราย" เบื้องต้นให้ดูที่แผง กล่อง หรือภาชนะบรรจุว่ามีคำว่า "ยาอันตราย" หรือไม่ หากยาที่ผู้บริโภคซื้อมีตัวยาเหล่านี้ ควรให้เภสัชกรเป็นผู้บันทึกรายการ และจำหน่ายโดยเภสัชกรอย่างถูกต้องตามกฎหมายกำหนด

ร้านขายยา กับ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT)
สำหรับกิจการร้านขายยา ที่มีรายรับจากการขายสินค้า หรือบริการเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องยื่นคำขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีรายรับเกิน และนำส่งให้กรมสรรพากรทุกๆ เดือน แต่ในกรณีที่เป็นร้านขายยาค้าปลีก สามารถออกใบกำกับภาษีอย่างย่อได้ และต้องจัดทำรายงานภาษีซื้อ ภาษีขาย รายงานสินค้า และวัตถุดิบ พร้อมนำส่งภาษี 7% (ภ.พ.30) ให้แก่กรมสรรพากรทุกวันที่ 15 ของเดือน

ถ้าไม่อยากพลาดแนวทางการวางแผน ก่อนเปิดร้านขายยาคลิกอ่านบทความเต็มที่นี่!




เตรียมพร้อมก่อนเปิดร้านขายยา ให้ นรินทร์ทอง ช่วยวางแผนทำบัญชี
สำหรับใครที่อ่านมาถึงตรงนี้จะเห็นว่า การทำ บัญชีร้านขายยา ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่เป็นเรื่องที่ต้องใช้ความละเอียดอย่างมาก และเป็นข้อบังคับใช้ตามที่กฎหมายกำหนด เพราะฉะนั้นหากใครที่กำลังวางแผนเปิดร้านขายยาเป็นของตัวเอง แต่ไม่มีประสบการณ์ด้านการทำบัญชี หรือต้องการผู้ช่วยที่ทำให้การยื่นบัญชีและภาษี ในธุรกิจของคุณให้เป็นเรื่องง่ายขึ้น ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#2


สำหรับผู้ประกอบการคลินิกเสริมความงามท่านใด ที่กำลังศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับ ภาษีที่ต้องเสียหลังเปิดคลินิกเสริมความงาม เพราะมีข้อสงสัยว่า คลินิกความงามเสียภาษีอะไรบ้าง? ในบทความนี้ นรินทร์ทอง ได้รวบรวมคำตอบมาไว้ให้คุณแล้ว!

อยากเตรียมตัวให้พร้อมก่อนเปิดคลินิกเสริมความงาม อ่านเพิ่มเติมที่นี่


รายได้ ค่าใช้จ่าย หลังเปิดคลินิกเสริมความงาม


การประกอบธุรกิจคลินิกเสริมความงาม สามารถทำได้ทั้งในนามบุคคลธรรมดา และแบบจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แต่แนวทางการบริหารจัดการจะมีความแตกต่างกันบางส่วน ทั้งในเรื่องของรายได้ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง ซึ่ง รายได้ และ ค่าใช้จ่าย ของกิจการคลินิกเสริมความงามหลักๆ ที่ต้องเสียจะมีรายละเอียดดังนี้
  • รายได้ - แบ่งเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ รายได้โดยตรง และ รายได้เสริมต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น รายได้ที่เกี่ยวกับการศัลยกรรมใบหน้า หรือ การรักษาดูแลผิวพรรณ, ฉีดโบท็อกซ์ รวมถึงค่าบริการที่ปรึกษาแพทย์
  • ค่าใช้จ่าย - มีทั้งแบบเกี่ยวข้องกับกิจการโดยตรง และ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานอื่นๆ เช่น ค่าจ้างแพทย์ประจำ, แพทย์ Part-time, ผู้ช่วยแพทย์, เงินเดือนพนักงาน, ค่าเช่า, ค่าซ่อมแซม และอื่นๆ

ภาษีที่สำคัญ สำหรับคลินิกเสริมความงาม

นอกจากรายได้และค่าใช้จ่ายที่ได้อธิบายไว้ในข้างต้นแล้ว คลินิกเสริมความงามยังต้องเสียทั้งภาษีเงินได้อีกด้วย ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กับ ภาษีเงินได้นิติบุคคล ซึ่งมีดังนี้

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา


สำหรับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จะมีความซับซ้อนยุ่งยากกว่านิติบุคคล เนื่องจากรายได้ของคลินิกมีหลายช่องทาง โดยวิธีการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จะต้องนำรายได้ทั้งหมดตลอดปีมารวมคำนวณภาษี อัตราภาษีสูงสุด 35% โดยมีสูตรคำนวณ 2 แบบ คือ
แบบที่ 1 (รายได้ – ค่าใช้จ่าย – ค่าลดหย่อน) x อัตราภาษี = ภาษีที่ต้องจ่าย (สำหรับรายได้ไม่ถึง 1 ล้านบาทต่อปี)
แบบที่ 2 รายได้ (ยกเว้นเงินเดือน) x 0.5% (สำหรับรายได้เกิน 1 ล้านบาทต่อปี)
เมื่อได้ผลลัพธ์แล้ว ให้นำผลลัพธ์ที่ได้ตัวเลขมากกว่าไปยื่นภาษี ซึ่งผู้ประกอบการจะต้องยื่นแบบแสดงรายการเพื่อชำระภาษีเงินได้ปีละ 2 ครั้ง คือ ภาษีครึ่งปี (ภ.ง.ด.94) และ ภาษีสิ้นปี (ภ.ง.ด.90)

ภาษีเงินได้นิติบุคคล
ในส่วนของรายได้และค่าใช้จ่าย รวมถึงการเสียภาษีคลินิกเสริมความงาม ต้องคำนวณจากกำไรสุทธิหลังหักค่าใช้จ่ายทั้งหมดแล้ว โดยใช้วิธีคำนวณภาษีจากกำไรสุทธิ อัตราสูงสุด 20% พร้อมส่งงบการเงินให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และส่งภาษีให้กับกรมสรรพากร
เรียนรู้วิธีการเสียภาษีเงินได้ แบบบุคคลธรรมดา และ นิติบุคคล เพิ่มเติม คลิกที่นี่



ภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับคลินิกเสริมความงาม
รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
เป็นรายได้จากการประกอบกิจการสถานพยาบาล โดยกิจการต้องได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ซึ่งได้ให้บริการแก่ผู้ป่วย ณ สถานประกอบการตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล
รายได้ที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
คือรายได้อื่นๆ ของคลินิกเสริมความงาม ที่ได้รับโดยไม่ต้องมีข้อแนะนำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เช่น การขายอาหารเสริม การขายครีมบำรุง เป็นต้น
ทำความเข้าใจภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับคลินิกเสริมความงาม เพิ่มเติม คลิกที่นี่


สรุป คลินิกความงามเสียภาษีอะไรบ้าง ให้ นรินทร์ทอง ช่วยวางแผน
หลังจากที่ได้ทราบถึงข้อมูลการเสียภาษีทั้ง 2 รูปแบบ ของคลินิกเสริมความงามแล้ว นอกจากเรื่องภาษีที่ทางเราได้อธิบายไว้ในข้างต้น ยังมีภาษีที่เกี่ยวข้องอีกมากมายที่ผู้ประกอบการต้องให้ความสำคัญ เพื่อให้ธุรกิจคลินิกเสริมความงามเป็นไปตามมาตรฐานที่กฎหมายกำหนด หากผู้ประกอบการคลิกนิกความงามท่านใด ที่กำลังมองหาสำนักงานบัญชีได้มาตรฐาน จัดทำโดยผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีและภาษีโดยตรง ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#3

การเลือก จดทะเบียนบริษัทด้วยตัวเอง ต้องมีความละเอียด รอบคอบเพื่อดำเนินการจดจัดตั้งบริษัทให้สำเร็จ แต่หากคุณไม่มีความรู้ และความเข้าใจในกระบวนการ บทความนี้ เราจะมาอธิบายขั้นตอน และเอกสารที่จำเป็น ในการจดทะเบียนบริษัทด้วยตัวเอง เพื่อช่วยให้คุณสามารถเริ่มต้นธุรกิจได้อย่างมั่นใจ

เรียนรู้ขั้นตอนการ จดทะเบียนบริษัทด้วยตัวเอง ฉบับเต็มคลิกอ่านที่นี่


ขั้นตอนการจดทะเบียนบริษัทด้วยตัวเอง

การจดทะเบียนบริษัทด้วยตัวเองสามารถทำได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้:


ขั้นตอนที่ 1 จองชื่อบริษัท: นำชื่อบริษัทที่ทำการเตรียมไว้ ไปเช็คในระบบของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ตรวจสอบให้แน่ใจว่าชื่อที่เลือกไม่ซ้ำกับบริษัทอื่น
โดยสามารถจองได้ที่
 - กรมพัฒนาธุรกิจการค้าในเขตที่ประกอบกิจการ หรือในกรณีที่อยู่ต่างจังหวัดสามารถดำเนินการได้ที่ สำนักงานพาณิชย์ประจำจังหวัด
- และสามารถจองผ่านระบบออนไลน์ ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า https://reserve.dbd.go.th/

ขั้นตอนที่ 2 จัดทำหนังสือ บริคณห์สนธิ:เป็นหนังสือที่แสดงความต้องการจัดตั้งนิติบุคคลต่อรัฐ และ แสดงข้อมูลของบริษัทให้กับทางรัฐ โดยจะประกอบไปด้วย
1. ชื่อของบริษัท
2. ที่อยู่ของสำนักงานใหญ่
3. วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งบริษัท (สามารถคลิกเพื่อดู หลักเกณฑ์การกำหนดวัตถุที่ประสงค์)
4. ทุนจดทะเบียน
5. ผู้ถือหุ้นของบริษัท
6. ชื่อ ที่อยู่ อาชีพ อายุ เลขที่บัตรประชาชน และจำนวนหุ้นที่ถือ
สำหรับที่ต้องการศึกษาขั้นตอนนี้เพิ่มเติมสามารถอ่านต่อได้ที่ หนังสือบริคณห์สนธิ-คือ

ขั้นตอนที่ 3 จัดการจองซื้อหุ้นบริษัท: ผู้จัดตั้งบริษัทต้องดำเนินการให้มีผู้ถือหุ้นจนครบตามหุ้นที่ระบุไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิ ซึ่งผู้ถือหุ้นสามารถถือหุ้นขั้นต่ำได้ 1 หุ้น

ขั้นตอนที่ 4 จัดประชุมจัดตั้งบริษัท: ผู้ก่อตั้งจะต้องออกหนังสือให้ผู้ถือหุ้นทราบอย่างน้อย 7 วัน ก่อนวันประชุมจัดตั้ง

ขั้นตอนที่ 5 ผู้ถือหุ้นมอบหมายกิจการให้แก่กรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง:

กรรมการเรียกต้องชำระค่าหุ้น กับผู้ถือหุ้น อย่างน้อย 25 % ของทุนจดทะเบียน เพื่อนำเป็นหลักฐานแสดงแก่นายทะเบียน  เมื่อเก็บค่าหุ้นครบแล้วกรรมการมีหน้าที่ ยื่นจดทะเบียนด้วยตนเอง ซึ่งจะต้องไม่เกิน 3 เดือน จากวันที่ประชุมจัดตั้งบริษัท
ขั้นตอนที่ 6 จัดเตรียม และ ตรวจสอบเอกสารจดทะเบียนบริษัท
  • คำขอจดทะเบียนบริษัทจำกัด (แบบ บอจ.1)
  • แบบคำร้องขอจดทะเบียนบริษัท
  • รายการจดทะเบียนจัดตั้ง แบบ บอจ.3
  • รายละเอียดกรรมการ แบบ ก.
  • บัญชีผู้ถือหุ้น แบบ บอจ. 5
  • สำเนาหนังสือนัดประชุมจัดตั้งบริษัท
  • สำเนารายงานการประชุมจัดตั้ง
[/lis
t]
  • สำเนาหลักฐานการชำระหุ้นของผู้ถือหุ้น
  • สำเนาข้อบังคับ ชำระเงินค่าอาการแสตม์ จำนวน 200 บาท (ถ้ามี)

ขั้นตอนที่ 7 ยื่นคำขอจดทะเบียนบริษัท:
 ในขั้นตอนนี้สามารถเลือก ยื่นคำขอจดทะเบียนได้ 2 รูป แบบ Walk in และ แบบออนไลน์
ยื่นเอกสารแบบ (Walk in) นำเอกสารทั้งหมดที่เตรียมไว้ไปยื่นที่ สำนักงานกรมพัฒนาธุรกิจการค้า 
ยื่นเอกสารผ่านระบบออนไลน์ ในขั้นตอนนี้สามารถทำผ่านทางเว็บไซต์ DBD e-Registeration
 โดยสามารถอ่านวิธีการดำเนินการจดทะเบียนออนไลน์ได้ที่ วิธีการจดทะเบียนบริษัทออนไลน์ ค่าธรรมเนียม
  • ค่าจดทะเบียน: ขึ้นอยู่กับทุนจดทะเบียนของบริษัท (มักอยู่ที่ประมาณ 5,000 บาทสำหรับทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท)
  • หนังสือรับรอง: รายการละ 40 บาท
  • ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน :ใบละ 100 บาท
  • รับรองสำเนาเอกสารสำหรับทดทะเบียน: หน้าละ 50 บาท

อยากจดทะเบียนบริษัทด้วยตัวเอง แต่ไม่อยากพลาด คลิกอ่านบทความเต็มที่นี่


จ้างจดทะเบียนบริษัท หรือ จดทะเบียนบริษัทด้วยตัวเอง


  • ค่าใช้จ่าย:การดำเนินการด้วยตัวเองจะประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่า หากดำเนินการได้สำเร็จ แต่หากเราดำเนินการผิดพลาด ก็อาจทำให้เกิดค่าใช้จ่ายมากขึ้น
  • การจัดเตรียมเอกสาร:

สำหรับสำนักงานบัญชี สามารถเตรียมเอกสาร และตรวจความถูกต้องเรียบร้อยของเอกสาร ซึ่งจะช่วยลดความผิดพลาดในการยื่นจดทะเบียนบริษัทได้

แต่สำหรับใครที่ดำเนินการเอง ก็อาจต้องใช้เวลาและความพยายามในการทำความเข้าใจขั้นตอนต่าง ๆ ซึ่งมีโอกาสเกิดความพลาดสูงกว่าการ จ้างสำนักงานบัญชี

  • ระยะเวลาในการดำเนินการ สำหรับเจ้าของกิจการที่ต้องการดำเนินการด้วยตัวเอง จะต้องใช้เวลาในการศึกษาขั้นตอนต่างๆ นานพอสมควร แต่ถ้าหากจ้างสำนักงานบัญชี จะช่วยประหยัดเวลา ซึ่งถือว่าเป็นตัวเลือกที่คุ้มค่า

สรุปแล้ว จ้างจดทะเบียนบริษัท หรือ จดทะเบียนบริษัทด้วยตัวเอง แบบไหนดี? อ่านเพิ่มเติมที่นี่


สรุป
การจดทะเบียนบริษัทด้วยตัวเองเป็นทางเลือกที่ดี สำหรับผู้ที่ต้องการประหยัดค่าใช้จ่าย แต่อย่างไรก็ตาม หากคุณต้องการจ้างจดทะเบียนบริษัท หรือไม่ต้องการเผชิญกับความยุ่งยาก บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
[/list]
#4

การ เปลี่ยนชื่อบริษัท สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็น การปรับเปลี่ยนทิศทางธุรกิจ หรือการรีแบรนด์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ใหม่ แต่การเปลี่ยนชื่อบริษัท จำเป็นต้องดำเนินการตามขั้นตอนอย่างถูกต้อง ซึ่งบทความนี้ นรินทร์ทอง จะช่วยให้คุณทราบถึงเอกสารที่ต้องใช้ ขั้นตอนการเปลี่ยนชื่อบริษัท และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง จะเป็นอย่างไรบ้างตามไปดูกัน!

นรินทร์ทอง แชร์ข้อมูล ก่อนเปลี่ยนชื่อบริษัท แบบละเอียด คลิกอ่านบทความเต็มได้ที่นี่


เอกสารที่ต้องใช้เปลี่ยนชื่อบริษัท


1. แบบรับรองการจดทะเบียนบริษัท
2. แบบคำขอจดทะเบียนบริษัท (แบบ บอจ.1)
3. แก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิ(แบบ บอจ.2)
4. แบบแก้ไขเพิ่มเติม และ มติพิเศษ (แบบ บอจ.4)
5. ใบแจ้งผลการการจองชื่อนิติบุคคล สำหรับชื่อใหม่ที่จะใช้ในการดำเนินกิจการ
6. หนังสือบริคณห์สนธิฉบับแก้ไข พร้อมอากรแสตมป์ 50 บาท
7. สำเนาบัตรประชาชน ของกรรมการบริษัทที่ลงนามในแบบคำขอ
8. หนังสือมอบอำนาจ ในกรณีที่กรรมการไม่ได้ดำเนินการด้วยตัวเอง

ขั้นตอนการ เปลี่ยนชื่อบริษัท
1. จัดประชุมผู้ถือหุ้น
2. จองชื่อบริษัทที่ต้องการ ผ่านกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
3. ยื่นคำขอจดทะเบียน
4. ตรวจสอบและอนุมัติโดยเจ้าหน้าที่ หลังจากนั้นจะออกหนังสือรับรองการเปลี่ยนชื่อบริษัทใหม่
5. ประกาศการเปลี่ยนชื่อแก่ลูกค้า คู่ค้า และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
อยากรู้รายละเอียด ขั้นตอนการ เปลี่ยนชื่อบริษัท แบบละเอียด คลิกอ่านบทความเต็มได้ที่นี่

เปลี่ยนชื่อบริษัท สามารถดำเนินการได้ที่ไหน
  • สำหรับบริษัทที่มีสำนักงานใหญ่ที่กรุงเทพ
  • สำหรับบริษัทที่มีสำนักงานใหญ่ในต่างจังหวัด
  • ผ่านระบบออนไลน์ e-Registration

เปลี่ยนชื่อบริษัท มีค่าธรรมเนียมอย่างไร
  • ค่าธรรมเนียมแก้ไขชื่อบริษัท: ประมาณ 500 บาท ถึง 1,000 บาท
  • หนังสือรับรอง: รายการละ 40 บาท
  • ใบสำคัญการแจ้งจดทะเบียน: ฉบับละ 100 บาท
  • รับรองสำเนาเอกสารคำรับรองจดทะเบียน: หน้าละ 50 บาท

การเปลี่ยนชื่อบริษัท ไม่ยากอย่างที่คิด ถ้าได้อ่านบทความเต็มๆ ของนรินทร์ทอง สนใจคลิก


สรุป
การเปลี่ยนชื่อบริษัท เป็นกระบวนการที่ต้องมีการวางแผน และจัดเตรียมเอกสารให้ครบถ้วน หากคุณต้องการความช่วยเหลือ ในการเปลี่ยนชื่อบริษัท เราขอแนะนำบริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#5

สำหรับคุณหมอท่านใด ที่กำลังวางแผนเปิดคลินิกเสริมความงาม หรืออยากรู้ว่าคลินิกที่เราเปิดอยู่นั้น ต้องมีความรู้เรื่องบัญชีอะไรบ้าง ลองมาทำความเข้าใจไปพร้อมๆ กันในบทความนี้ เพราะทาง นรินทร์ทอง เราได้เตรียมข้อมูลเกี่ยวกับ การ ทำบัญชี และรายละเอียดต่างๆ ที่เจ้าของธุรกิจต้องรู้ ก่อนเปิดคลินิกเสริมความงามมาไว้ให้คุณแล้ว จะมีข้อมูลอะไรที่น่าสนใจบ้างตามมาดูกันเลย!

วางแผน ทําบัญชีคลินิกเสริมความงาม เตรียมพร้อมก่อนเปิดคลินิก อ่านเพิ่มเติมคลิก


การวางแผน ทําบัญชีคลินิกเสริมความงาม


หลังจากเปิดธุรกิจคลินิกเสริมความงาม ควรต้องมีการวางแผน ทำบัญชี ทันที เนื่องจากคลินิกเสริมความงามเป็นธุรกิจที่มีลักษณะเฉพาะ ดังนั้นการวาง ผังบัญชีคลินิก ก็ควรถูกออกแบบให้เหมาะสมกับธุรกิจเช่นกัน โดยเบื้องต้นต้องดูว่าการทำบัญชี และยื่นภาษี สำหรับคลินิกเสริมความงามนั้น มีรายการรายได้ และค่าใช้จ่ายต่างๆ เกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง ยกตัวอย่างเช่น เครื่องอัลเทอรา (Ulthera), เครื่องไฮฟู (HIFU) ยกกระชับ, เครื่องเทอร์มาจ (Thermage) เป็นต้น ทางบัญชีจะเรียกเครื่องมือทางการแพทย์เหล่านี้ว่า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หรือ Fixed Asset เมื่อเริ่มต้นบันทึกบัญชีควรจะมีเอกสารต่างๆ ในการซื้อเครื่องมือเหล่านี้ประกอบไว้ให้ครบถ้วน ได้แก่
  • ใบสั่งซื้อ
  • ใบแจ้งหนี้
  • ใบเสร็จรับเงิน
  • ใบกำกับภาษี
ทำความเข้าใจ การวางแผนทำบัญชี คลินิกเสริมความงาม แบบละเอียดคลิกที่นี่

การทำบัญชีและภาษีสำหรับค่าจ้างคุณหมอ จะมีทั้งหมด 3 เรื่องหลักๆ ดังนี้
1. บันทึกบัญชีเงินเดือน - หากเป็นคุณหมอที่ทำงานประจำแบบรายเดือน จะต้องจัดทำบัญชีเงินเดือนให้เรียบร้อย หรือคลินิกใหญ่ๆ บางแห่งที่มีพนักงานเยอะ อาจต้องใช้โปรแกรมเงินเดือนมาช่วยเก็บ และบันทึกข้อมูล
2. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย - สำหรับกรณีที่จ้างคุณหมอเป็นพนักงานประจำของคลินิก ในแต่ละเดือนที่จ่ายเงินเดือนจะต้องมีการหักภาษี ณ ที่จ่ายคำนวณตามอัตราก้าวหน้า หรือถ้าจ้างเป็นรายครั้ง จะต้องมาเช็กว่าเข้าข่ายเงินได้ประเภท 40(2) จ่ายตามเวลา หรือ 40(6) จ่ายค่าวิชาชีพตามผลงานหรือไม่
3. ประกันสังคม - การว่าจ้างคุณหมอและพนักงานประจำร้าน กฎหมายได้กำหนดไว้ว่าเจ้าของธุรกิจ จะต้องขึ้นทะเบียนประกันสังคมให้เรียบร้อย และนำส่งเงินประกันสังคม โดยหักเงินบางส่วนจากพนักงาน และนายจ้างสมทบอีกส่วนเข้าไป

รายได้คลินิกเสริมความงาม มีประเภทใดบ้าง

รายได้คลินิกเสริมความงาม มีประเภทใดบ้าง
ในหัวข้อนี้ นรินทร์ทอง เราขอแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่
  • รายได้ คลินิกเสริมความงาม ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม  หมายถึง รายได้จากการประกอบกิจการสถานพยาบาล ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล และอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลกำหนด
  • รายได้คลินิกเสริมความงาม ที่ไม่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม หมายถึง รายได้อื่นๆ ของคลินิกที่ได้รับ โดยไม่ต้องมีข้อแนะนำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
รายได้คลินิกเสริมความงาม เรื่องสำคัญที่ผู้ประกอบการต้องรู้ คลิกอ่านบทความเต็มที่นี่

ค่าใช้จ่ายคลินิกเสริมความงาม


ในส่วนของค่าใช้จ่ายคลินิกเสริมความงาม จะมีทั้งแบบเกี่ยวข้องกับกิจการโดยตรง และค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานอื่นๆ เช่น เงินเดือนของกรรมการ, ค่าจ้างคุณหมอประจำคลินิก, ค่าธรรมเนียมคุณหมอ หรือที่เรียกว่า ค่า DF (Doctor Fee), ค่าแรงของคุณหมอ Part-Time, ค่าเช่า, ค่าซ่อมแซม, ค่าส่งเสริมการขาย, ค่าที่ปรึกษา ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา, ค่าอินเทอร์เน็ต และสัดส่วนค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในคลินิก


สรุปเทคนิคการวางแผน ทําบัญชีคลินิกเสริมความงาม กับ นรินทร์ทอง

หากกล่าวโดยสรุปคือ การวางแผน ทำบัญชี เป็นเรื่องที่สำคัญต่อการทำธุรกิจคลินิกเสริมความงาม และธุรกิจทุกประเภท ดังนั้นถ้าหากใครที่เป็นผู้ประกอบการมือใหม่ แล้วอยากวางแผนทำบัญชี กับ สำนักงาน รับทำบัญชี ที่ได้มาตรฐาน มีความน่าเชื่อถือ
ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#6

สำหรับท่านใดที่วางแผนอยากเริ่มต้นทำธุรกิจ แต่ไม่รู้ข้อมูลเกี่ยวกับ การ ทำ บัญชี คือ อะไร จำเป็นต่อธุรกิจมากแค่ไหน? ในบทความนี้ นรินทร์ทอง ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ความสำคัญของการทำบัญชีมาไว้ให้คุณแล้ว

ไม่พลาดข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับการทำบัญชี คลิกอ่านบทความที่นี่เลย!


การ ทำ บัญชี คือ อะไร


การทำบัญชี เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงเศรษฐกิจ แล้วนำข้อมูลดังกล่าวมาประมวลผล ด้วยวิธีการบันทึก จำแนก และทำการสรุปผล ที่เป็นตัวเงินออกมาในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ผู้ที่ต้องการใช้งบการเงิน วิเคราะห์ข้อมูลของบริษัทได้อย่างถูกต้อง

เรียนรู้หน้าที่ของการทำบัญชี ก่อนจ้างสำนักงานบัญชี เพิ่มเติมคลิกที่นี่!

ความสำคัญของการทำบัญชี


  • การจดบันทึกรายการค้าต่างๆ ช่วยให้สามารถเรียงลําดับ ก่อน-หลัง และจําแนกประเภทของรายการค้าอย่างสมบูรณ์

  • ช่วยให้การจดบันทึกรายการค้านั้นๆ ถูกต้องตามหลักการบัญชี และตามกฎหมาย

  • ช่วยให้ทราบฐานะทางการเงินของกิจการในระยะเวลาหนึ่งว่า ในรอบปีที่ผ่านมากิจการมีผลการดำเนินงานเป็นอย่างไร

  • การทําบัญชีช่วยทั้งในเรื่องของการบริหารงาน การวางแผนการดําเนินงาน และควบคุมกิจการให้ประสบผลสำเร็จ

ขั้นตอนการทำบัญชี


ขั้นตอน 1: การวิเคราะห์รายการค้า
คือ การนำธุรกรรมที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์ เพื่อดูบัญชีที่ได้รับผลกระทบ และจำนวนเงินที่จะต้องบันทึก ส่งผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลง
ขั้นตอน 2: บันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน
คือ การทำบัญชีในรูปแบบของการจดในกระดาษ หรือลงบันทึกในระบบออนไลน์ โดยรูปแบบของบันทึกจะต้องระบุสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้ง ได้แก่ ยอดการขาย ยอดการซื้อ ใบเสร็จจากการรับเงินสด เป็นต้น
ขั้นตอน 3: ผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท
เป็นสมุดบัญชีสรุปที่รวบรวมข้อมูลบัญชีต่างๆ โดยแบ่งเป็นประเภท ตามลักษณะรายการค้าที่เกิดขึ้น
ขั้นตอน 4: งบทดลองก่อนการปรับปรุง
มีขึ้นเพื่อแสดงยอดคงเหลือ ในบัญชีแยกประเภททั่วไปทุกบัญชีของกิจการ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการผ่านบัญชี

ขั้นตอน 5: บันทึกรายการปรับปรุงบัญชี
ถือเป็นการเตรียมการเพื่อนำไปสู่การบันทึกบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง โดยพิจารณาจากกรณี รายได้ค้างรับ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย การจ่ายล่วงหน้า ค่าเสื่อมราคา และการตั้งสำรอง
ขั้นตอน 6: งบทดลองหลังปรับปรุง
เป็นสิ่งที่จะทำก่อนสรุปงบทางการเงินสุดท้าย โดยงบทดลองหลังการปรับปรุงนี้ จะแสดงให้เห็นว่ายอดรวมของเดบิต เท่ากับยอดรวมของเครดิตในแต่ละหมวดบัญชีหรือไม่
ขั้นตอน 7: งบการเงิน
เมื่อนักบัญชีได้ปรับข้อมูลและเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ ครบถ้วนแล้ว ก็จะนำไปสู่การสรุปงบการเงิน ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของระบบการทำบัญชี ประกอบด้วย
1. งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
2. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ
3. งบแสดงฐานะทางการเงิน
4. งบกระแสเงินสด
5. หมายเหตุประกอบงบการเงิน
อยากเข้าใจ ขั้นตอนการทำบัญชี ให้มากขึ้น คลิกอ่านที่นี่


อยากเริ่มต้น วางแผนจัดทำบัญชี และยื่นภาษี มาทำกับเราที่ นรินทร์ทอง
การทำบัญชี ถือเป็นการรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์สถิติงบการเงินของธุรกิจ เพื่อแสดงให้เห็นถึงภาพรวมทิศทางความเป็นไปของธุรกิจอย่างละเอียด นับว่ามีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจอย่างมาก เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วนสมบูรณ์ การมองหาสำนักงานบัญชีที่ดี และมีประสบการณ์ทางด้านบัญชีโดยตรง จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่เราอยากแนะนำให้กับผู้ประกอบการ
ดังนั้นเราจึงอยากแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#7

หากกิจการของคุณเริ่มเติบโต จำเป็นต้องมีการจัดตั้งทะเบียนนิติบุคคล ไม่ว่าจะเป็น บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วน จำกัด สิ่งที่ต้องทำคือ การจัดทำบัญชี ส่งภาษีอากร รวมไปถึงปิดงบการเงินตามกฎหมาย สำหรับใครที่มีพื้นฐานการทำบัญชีอยู่แล้ว หากคุณเกิดข้อสงสัยว่า สามารถทำบัญชีเองได้ไหม หรือต้อง จ้างสำนักงานบัญชี เพื่อดูแลบัญชีของบริษัท? บทความนี้จะพาคุณไปหาคำตอบกับเรา Narinthong

ไขข้อสงสัยทำบัญชีเองแล้ว ยังต้องจ้างสำนักงานบัญชีไหม  อ่านเต็มๆ ได้ในบทความนี้


ทำบัญชีเอง ต้องจ้างสำนักงานบัญชีไหม?


สำหรับผู้ประกอบการที่ยังอยู่ในรูปแบบ บุคคลธรรมดา: สามารถทำบัญชี และ ยื่นภาษีบุคคลธรรมดา ตามอัตราภาษี ขั้นบันได ได้ด้วยตัวเอง แต่อัตราเพดานภาษีจะสูงกว่ารูปแบบนิติบุคคล และ จะมีข้อจำกัดในการลงค่าใช้จ่ายมากว่า

ส่วนใครที่จดทะเบียน นิติบุคคล: ไม่ว่าจะเป็น บริษัท จำกัด หรือ ห้างหุ้นส่วน สามารถทำบัญชีได้ แต่จำเป็นจะต้องมีนักบัญชีที่ได้การรับรองจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้าในการเซ็นต์ผู้ทำบัญชี และ มีผู้ตรวจสอบบัญชีเป็นผู้รับรองความถูกต้อง ให้ความเห็น ต่องบการเงิน


  คุณสมบัติผู้ทำบัญชีโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า


ตามกฎหมายการบัญชีในประเทศไทย ผู้ทำบัญชีต้องมีคุณสมบัติดังนี้:
1. มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรไทย
2. มีความรู้ภาษาไทยเพียงพอที่จะทำหน้าที่เป็นผู้ทำบัญชีได้
3. เป็นสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชี หรือ ขึ้นทะเบียนไว้กับสภาวิชาชีพบัญชี
4. ไม่เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก มาตรา 39(3) แห่ง พ.ร.บ.วิชาชีพบัญชีพ.ศ. 2547 เว้นแต่ต้องคำพิพากษา หรือ พันโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี
5. คุณวุฒิการศึกษา แบ่งตามขนาดธุรกิจโดยแบ่งได้ 2 ระดับ
  • ไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบัญชีหรือเทียบเท่า
  • ต่ำกว่าปริญญาตรี แต่ไม่ต่ำกว่าอนุปริญญาหรือปวส.ทางการบัญชีหรือเทียบเท่าสามารถ

ทำความเข้าใจคุณสมบัติเบื้องต้นที่สำนักงานบัญชีต้องมี อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่

เลือกทำบัญชีเอง หรือ จ้างสำนักงานบัญชี


สำหรับบริษัทที่ยังมีขนาดเล็ก มีรายได้ไม่มาก ยังไม่ต้องการสร้าง Fix Cost ในองค์กรแอดมินแนะนำให้จากผู้ทำบัญชี และ ผู้สอบ เป็น Outsource เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย

ส่วนบริษัทขนาดกลางที่มีความพร้อม ก็สามารถจ้างได้ทั้งในรูปแบบของสำนักงานบัญชี หรือ พนักงานประจำที่ผ่านเกณฑ์ ผู้ทำบัญชี ให้เหมาะสมโครงสร้างขององค์กร

ยากรู้รายละเอียดข้อมูล การทำบัญชีของธุรกิจแต่ละขนาด  เพิ่มเติมคลิกที่นี่เลย
สำหรับใครที่ยังลังเลไม่แน่ใจสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ เจ้าของธุรกิจควร จ้างทำบัญชี ตอนไหน?

สรุป

สรุปจองชื่อบริษัทออนไลน์

การทำบัญชีเองอาจเหมาะสำหรับธุรกิจขนาดเล็ก ที่มีความสามารถในการจัดการบัญชีด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม การจ้างสำนักงานบัญชีมีข้อดีหลายประการ เพราะจะช่วยให้ข้อมูลการทำบัญชีในธุรกิจของคุณมีความถูกต้อง และลดความเสี่ยงในการเกิดข้อผิดพลาด สำนักงานรับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#8

การจองชื่อบริษัทออนไลน์เป็นขั้นตอนที่เจ้าของธุรกิจ ต้องดำเนินการเพื่อให้แน่ใจว่าชื่อที่ต้องการใช้นั้นยังไม่มีใครใช้ก่อน และสามารถดำเนินการจดทะเบียนบริษัท หรือ จดทะเบียนนิติบุคคลได้ วันนี้ Narin มาบอก วิธีการ จองชื่อบริษัทออนไลน์ ที่คุณสามารถทำได้ด้วยตัวเอง

อยากรู้รายระเอียดการ จองชื่อบริษัทออนไลน์ เพิ่มเติม  อ่านบทความเต็มได้ที่นี่


เงื่อนไข จองชื่อบริษัทออนไลน์


  • ชื่อที่ใช้ต้องมีความหมายที่ดี และสื่อถึงลักษณะธุรกิจที่เกี่ยวข้อง

  • ชื่อต้องไม่ซ้ำหรือคล้ายกับชื่อบริษัทที่มีอยู่แล้ว ในฐานข้อมูลของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า

  • หลีกเลี่ยงการใช้ชื่อที่เป็นลิขสิทธิ์ของผู้อื่น เพราะอาจทำให้เกิดความเข้าใจผิด และเกิดการฟ้องร้องได้
  • ไม่ใช้ชื่อที่เกี่ยวข้องกับราชวงศ์ หรือ หน่วยงานราชการ

  • ชื่อที่ใช้ภาษาต่างประเทศต้องมีความหมาย หรือ เสียงที่ใช้เรียกตรงกับชื่อภาษาไทย


สำหรับใครที่อยู่ในขั้นตอนการเตรียมชื่อสำหรับจดจะเบียนนิติบุคคลสามารถอ่านต่อได้ที่
เทคนิคการ ตั้ง ชื่อ บริษัท

ทำความเข้าใจ เงื่อนไขการจองชื่อบริษัทแบบละเอียดได้ที่นี่

ขั้นตอนการจองชื่อบริษัทออนไลน์


1. เข้าสู่เว็บไซต์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและเลือกใช้ ระบบจองชื่อนิติบุคคลอัตโนมัติ
2. หากคุณยังไม่มีบัญชีผู้ใช้งาน ให้ทำการเลือก ลงทะเบียนเข้าใช้งาน
center][/center]
3. เริ่มต้นระบบจะให้เรากรอก Email สำหรับดำเนินการ ให้เราใส่ Email ที่ต้องการจากนั้น เลือกยืนยันอีเมล์ ระบบจะส่งรหัสสำหรับการยืนยันให้ใน Email
4. หลังจากยืนยัน Email ให้เรากรอกข้อมูล ให้ครบทั้ง 3 ส่วน (USERNAME & PASSWORD/ข้อมูลบุคคล /ข้อมูลการติดต่อ) และตรวจความถูกต้องของข้อมูล


5. นำชื่อบริษัทที่เราต้องการจองชื่อนิติบุคคลกรอกเข้าไปในช่อง และ กดค้นหา เพื่อเช็กว่าชื่อที่เราใช้ ไม่ซ้ำกับชื่อที่มีอยู่ในระบบของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า


6. หลังจากนั้นระบบจะดึงข้อมูลผู้ยื่นคำขอที่มีการกรอกไว้ในขั้นตอนลงทะเบียน


7. ระบุชื่อที่ต้องการจอง ให้กรอกชื่อภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษให้ถูกต้อง หากมีการเว้นวรรคต้องมีระยะห่างที่เท่ากัน


8. ให้เรากดยอมรับข้อตกลง และ กดส่งคำขอ ระบบจะมี Pop Up ให้ยืนการจองชื่อนิติบุคคลให้เราเลือกตกลง


9. หลังจากการยืนยันการจอง นายทะเบียนจะทำการอนุมัติชื่อหากดำเนินการสำเร็จจะแสดงหน้าต่างการส่งคำขอชื่อเสร็จสิ้น โดยจะมีรายละเอียด ใบจองเลขที่ ให้เรานำเลขที่ใบจองเพื่อไปดำเนินการ จดทะเบียนบริษัท

สำหรับใครที่ต้องการ จดทะเบียนบริษัทออนไลน์ สามารถอ่านต่อได้ที่ วิธีการจดทะเบียนบริษัทออนไลน์

หากต้องการรู้รายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติมอ่านบทความเต็มได้ที่นี่


สรุปจองชื่อบริษัทออนไลน์

การจองชื่อบริษัทออนไลน์เป็นขั้นตอนแรกที่สำคัญก่อนการดำเนินการ จดทะเบียนบริษัท ซึ่งช่วยให้กระบวนการจดทะเบียนนิติบุคคลเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ว สำหรับใครที่กำลังดำเนินการ และต้องการคำปรึกษา สามารถติดต่อได้ที่ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#9

1. ให้บริการมามากกว่า 20 ปี
2. ผ่านหลักสูตรจาก DBD
3. ให้บริการด้านบัญชี และ ภาษีครบวงจร
4. บริการและใส่ใจลูกค้า

สนใจทำบัญชี กับ นรินทร์ทอง คลิกที่นี่เลย


ขั้นตอนการทำบัญชี รับทำบัญชี กับ Narinthong มีขั้นตอนดังนี้

1. รับเอกสาร ตรวจสอบเอกสาร ติดตามเอกสารที่ได้รับให้ครบถ้วนพร้อม สำหรับการทำบัญชี

2. ให้คำปรึกษาก่อนเริ่มบันทึกบัญชี แนะนำแนวทางการบันทึกบัญชี เพื่อประหยัดภาษี ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
 
3. เริ่มทำบันทึกบัญชี  รายเดือน รายปี จัดทำรายละเอียดเพื่อให้รู้ผลประกอบการ โครงสร้างของธุรกิจ เพื่อดำเนินธุรกิจในระยะยาว พร้อมทั้งทำข้อมูลประกอบการปิดงบการเงิน

4. ตรวจสอบความถูกต้อง  ของเอกสารทางบัญชี รายการที่บันทึกบัญชี และแนะนำการลงค่าใช้จ่ายเพื่อประหยัดภาษี

5. ส่งงบให้ผู้สอบบัญชี ให้ผู้สอบให้ความเห็นต่องบการเงินที่เกิดขึ้น เพื่อให้ได้มาตราฐาน และ มีความน่าเชื่อถือ ผ่านผู้สอบบัญชีมืออาชีพ *ราคาในดำเนินการสอบบัญชีไม่รวมในค่าทำบัญชี*

6. นำส่งงบการเงิน ช่วยผู้ประกอบการส่งงบการเงินแก่สรรพากร ให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาในด้านบัญชี และ ภาษี พร้อมทั้งให้คำปรึกษาในกรณีที่เกิดปัญหา

อ่านรายละเอียด ขั้นตอนการทำบัญชี เพิ่มเติม ได้ที่นี่


ขอบเขตการ รับทำบัญชี ที่เราให้บริการ

บริการทำบัญชีครบวงจร ครอบคลุมทุกด้าน

  • ทางสำนักงานบัญชีให้คำปรึกษาแนะนำ การออกเอกสารที่เกี่ยวข้องกับบัญชีอย่างเป็นระบบ เช่น การออกแบบ ใบแจ้งหนี้ ใบกำกับ ใบเสร็จ รับ เงิน ใบสำคัญรับ-จ่าย เพื่อให้ได้มาตรฐาน

  • รับเอกสารจากทางลูกค้า โดยลูกค้าสามารถทำจัดการจัดส่งผ่านไปรษณีย์ หรือส่งทางขนส่งมาตรฐานให้กับทางสำนักงานบัญชีนรินทร์ทอง หากประสงค์ส่งในรูปแบบออนไลน์สามารถแสกนผ่านข้อมูลผ่านทาง Google Drive หรือ โปรแกรมบัญชีที่รองรับ *ในกรณีที่ต้องการส่งเอกสารมายัง สำนักงานสามารถใช้บริการเรียกรถผ่านแอพพลิเคชั่น ตามค่าใช้จ่ายจะถูกคิดตามระยะทางจริง*

  • โดยทางสำนักงานจะตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร ก่อนการเริ่มทำการบันทึกบัญชี

  • เรามีบริการทำบัญชีครบวงจรที่ครอบคลุมทุกด้าน ของการจัดการบัญชีสำหรับธุรกิจของคุณ

  • จัดทำภาษีเงินเดือน ภงด 1 และ ภาษีหัก ณ ที่ จ่าย ภงด.3 ภงด.53

  • จัดทำแบบประกันสังคม และ ยื่นแบบทางอินเตอร์เน็ต

  • จัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม และ ยื่น ภพ 30 กับสรรพากร

  • จัดทำรายงานภาษีซื้อ-ภาษีขาย ประจำเดือน

  • ทำการปิดบัญชี ส่งงบการเงินประจำปี


จัดทำรายละเอียด ประกอบงบการเงิน

  • รายละเอียดทรัพย์สิน

  • รายละเอียดเจ้าหนี้ ลูกหนี้

  • รายงานสินค้าคงเหลือ (ในกรณีที่ลูกค้าต้องการรายงานสินค้าคงเหลือ จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม)


ยื่นเอกสารกรมพัฒนาธุรกิจการค้า(DBD)

  • ยื่นงบการเงิน และ สบช.3

  • ยื่นบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น บอจ.5


ยื่นเอกสารกรมสรรพากร

  • ประมาณการและยื่น ภ.ง.ด.51 (ภาษีกลางปี)

  • จัดทำและยื่น ภ.ง.ด.50 (ภาษีเงินได้นิติบุคคล)



ราคาค่าบริการ รับทำบัญชี และค่าบริการที่เกี่ยวกับบัญชีเพิ่มเติม

เอกสารทางบัญชี 1-50 ชุด
 3,500 บาท / เดือน

  • ทำบัญชีรายเดือนตามมาตราฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

  • จัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชี เช่น สมุดรายวัน แยกประเภทตามมาตราฐานที่กฎหมายกำหนด

  • จัดทำงบการเงินประจำปี พร้อมนำส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


เอกสารทางบัญชีชุดที่ 51-100 ชุด
4,500 บาท / เดือน

  • ทำบัญชีรายเดือนตามมาตราฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

  • จัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชี เช่น สมุดรายวัน แยกประเภทตามมาตราฐานที่กฎหมายกำหนด

  • จัดทำงบการเงินประจำปี พร้อมนำส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


เอกสารทางบัญชีชุดที่ 151-200 ชุด
5,500 บาท / เดือน

  • ทำบัญชีรายเดือนตามมาตราฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

  • จัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชี เช่น สมุดรายวัน แยกประเภทตามมาตราฐานที่กฎหมายกำหนด

  • จัดทำงบการเงินประจำปี พร้อมนำส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


เอกสารทางบัญชีชุดที่ 201-250 ชุด
6,500 บาท / เดือน

  • ทำบัญชีรายเดือนตามมาตราฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

  • จัดทำเอกสารประกอบการลงบัญชี เช่น สมุดรายวัน แยกประเภทตามมาตราฐานที่กฎหมายกำหนด

  • จัดทำงบการเงินประจำปี พร้อมนำส่งกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า


หมายเหตุ : ไม่รวมค่าจัดส่งเอกสาร EMS , ค่าใช้ในการเดินทางรับเอกสาร , ค่าธรรมเนียม และ ภาษี

มองหาสำนักงานบัญชีมากประสบการณ์ แนะนำ นรินทร์ทอง คลิกเพื่ออ่านบทความเต็มได้ที่นี่

#10



หากธุรกิจของคุณเริ่มมีรายได้และผลกำไรสูง ควรมีการจดทะเบียนบริษัทเกิดขึ้น แต่ผู้ประกอบการหลายท่านอาจจะยังไม่แน่ใจว่า ต้องมีรายได้เท่าไหร่ ถึงควร จดทะเบียนบริษัท ? วันนี้ นรินทร์ทอง ได้นำข้อมูลเกี่ยวกับการจดทะเบียนบริษัทมาฝากทุกคนในบทความนี้! 
อยากรู้รายละเอียดการ จดทะเบียนบริษัท เพิ่มเติม คลิกที่นี่

เมื่อไรควร จดทะเบียนบริษัท


หากกิจการของคุณเริ่มมีเงินได้สุทธิ (รายได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย) มากกว่า 750,000 บาทขึ้นไป ควรจดทะเบียนบริษัททันที


รายได้ และ อัตราภาษี


การจดทะเบียนบริษัทควรเริ่มทำเมื่อเจ้าของธุรกิจมีเงินได้สุทธิ (รายได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย) 750,000 บาทขึ้นไป ถ้าคุณเป็นบุคคลธรรมดาที่มีรายได้สุทธิมากเท่านี้ จะเสียภาษีถึง 35% แต่ถ้าจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท จะเสียภาษีเงินได้เพียง 20% 

เรียนรู้การคำนวณรายได้ และอัตราภาษีเพิ่มเติม คลิกที่นี่


ตัวอย่างการคำนวณรายได้ และ อัตราภาษี แบบนิติบุคคล กับ แบบบุคคลธรรมดา


การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล

วิธีการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล มีสูตรการคำนวณ คือ (รายได้ – ค่าใช้จ่าย) = กำไรสุทธิ จากนั้นนำกำไรสุทธิที่ได้ มาคิดภาษีตามอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล (ทั้งนี้ถ้าหากมีได้กำไร 0 - 300,000 จะได้รับการยกเว้นภาษี 15%)

ยกตัวอย่าง: หากรายได้ทั้งปีมีจำนวน 2,225,000 บาท จะมีวิธีการคำนวณภาษี ดังนี้
Step 1: รายได้ขายสินค้า 2,225,000 - รายจ่าย 1,900,000 บาท = กำไรทางบัญชี 325,000 บาท

Step 2: กำไรทางบัญชี 325,000 บาท - รายการปรับปรุงทางภาษี 0 บาท = กำไรทางภาษี 325,000 บาท

Step 3: กำไรทางบัญชี 325,000 บาท - 3 ล้าน = ภาษีที่ต้องชำระ 3,750 บาท

การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จะมีวิธีการคำนวณโดยแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ

แบบที่ 1 (รายได้ - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน) x อัตราภาษี = ภาษีที่ต้องจ่าย หากมีรายได้ประจำช่องทางเดียว อัตราภาษีจะเป็นแบบอัตราขั้นบันได ตั้งแต่ 5 – 35%

แบบที่ 2  (รายได้ทุกประเภท - เงินเดือน) x 0.5% ในกรณีที่มีรายได้ช่องทางอื่น นอกจากรายได้ประจำหรือเงินเดือนตั้งแต่ 120,000 บาทขึ้นไป คิดภาษีแบบเหมา
โดยจะต้องคำนวณภาษีทั้งแบบอัตราขั้นบันได และอัตราเหมา เพื่อนำมาเทียบกันแล้วเลือกยอดภาษีที่ต้องเสีย โดยคิดจากยอดภาษีที่สูงกว่า

หมายเหตุ: หากคำนวณด้วยวิธีคิดแบบเหมาแล้ว มีภาษีที่ต้องเสียทั้งสิ้นไม่เกิน 5,000 บาท จะได้รับการยกเว้นภาษีในวิธีนี้

ยกตัวอย่าง: หากรายได้ทั้งปีมีจำนวน 2,225,000 บาท เลือกหักค่าใช้จ่ายแบบขั้นบันได จะมีวิธีการคำนวณภาษี ดังนี้

Step 1: รายได้ขายสินค้า 2,225,000 - รายจ่าย 1,900,000 บาท - ค่าลดหย่อนภาษี = เงินได้สุทธิ

Step 2: เงินได้สุทธิ x อัตราภาษีขั้นบันได 30% (รายได้ 2M - 5M ขั้นบันได 30%) = ภาษีที่ต้องจ่าย


ค่าใช้จ่าย และความรับผิดชอบที่มากขึ้น หลัง จดทะเบียนบริษัท



  • การเทียบค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในการทำบัญชี
หากต้องการเทียบค่าใช้จ่ายในการทำบัญชี ต้องดูว่าในนามบุคคลธรรมดาคุณเสียภาษีสูงสุดเท่าไหร่ในช่วง 5%-35% จากนั้นนำมาเทียบกับค่าใช้จ่ายในการทำบัญชี

  • การเก็บเอกสาร
1. ใบแจ้งหนี้ / ใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน / หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย (ที่กิจการให้ลูกค้า)
2. ใบแจ้งหนี้ / ใบกำกับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน / หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย (ที่ได้รับจากคู่ค้า)
3. Bank Statement หรือสมุดบัญชีธนาคาร
4. รายงานสรุปการจ่ายเงินเดือนพนักงาน (กรณีมีพนักงาน)
5. การใช้บริการจ่ายค่าเช่าจากบริษัท / บุคคลอื่น
6. เอกสารสัญญาทุกชนิด
7. รายงานสินค้าคงเหลือ


ถ้าคุณอยากรู้รายละเอียด หลังจดทะเบียนบริษัท เพิ่มเติมคลิกเลย



ข้อดีของการ จดทะเบียนบริษัท รู้ก่อนไม่มีพลาด!

  • จ่ายภาษีน้อยกว่าบุคคลธรรมดา
  • ปีไหนธุรกิจขาดทุนก็ไม่ต้องเสียภาษี
  • มีความน่าเชื่อถือกว่า
  • ขยายธุรกิจได้ง่ายกว่า

หลังจากที่จดทะเบียนบริษัทเป็นนิติบุคคลแล้ว เจ้าของธุรกิจอย่าลืมที่จะให้ความสำคัญกับการทำบัญชีและภาษี โดยพิจารณาเลือกสำนักงานบัญชีที่มีประสบการณ์ เราขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโต และมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339




#11



การจะเปิดโรงพยาบาลสัตว์ขึ้นมาสักแห่ง เจ้าของกิจการจำเป็นต้องพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อโรงพยาบาลสัตว์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของต้นทุน รายได้ รวมถึงค่าใช้จ่ายส่วนอื่นๆ สิ่งเหล่านี้ล้วนต้องมีการวางแผนจัด ทำบัญชีโรงพยาบาลสัตว์ ขึ้นมา วันนี้ทางเรา นรินทร์ทอง บริษัท รับทำบัญชี จึงไม่พลาดที่จะนำเสนอเรื่องที่ต้องรู้เกี่ยวกับ หลักการทำบัญชีของโรงพยาบาลสัตว์ ให้กับทุกท่านที่สนใจอยากทำกิจการเกี่ยวกับสัตว์ ได้มีการวางแผนทำบัญชีอย่างถูกต้อง

อยากรู้รายละเอียดการ ทำบัญชีโรงพยาบาลสัตว์ เพิ่มเติม คลิกที่นี่เลย!


หลักของ ทำบัญชีโรงพยาบาลสัตว์


ก่อนที่จะเปิดบริษัทแนะนำว่า ควรทำการวางแผนทั้งในเรื่องของการ ทำบัญชีโรงพยาบาลสัตว์ และเรียนรู้เรื่องภาษีก่อน เพื่อเป็นตัวช่วยสร้างความมั่นคงให้กับธุรกิจของคุณ โดยหลักทางบัญชีโรงพยาบาลสัตว์ สิ่งที่จะต้องรู้มีดังนี้

บัญชีต้นทุนของโรงพยาบาลรักษาสัตว์


  • ต้นทุนค่าแรง - คือรายจ่ายของคลินิกที่จ่ายให้กับเจ้าหน้าที่ เป็นค่าตอบแทนในการปฏิบัติงาน รวมถึงค่าสวัสดิการต่างๆ ที่ต้องจ่ายให้ในรูปของตัวเงิน
  • ต้นทุนค่าวัสดุ - คือค่าใช้จ่ายวัสดุสิ้นเปลืองทุกประเภทที่ใช้ในการดำเนินงาน ได้แก่ ค่ายา, ค่าเวชภัณฑ์, เครื่องมือแพทย์, เครื่องมือวัดชีพจร ฯลฯ รวมถึงค่าบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์
  • ต้นทุนการลงทุน - เป็นต้นทุนที่เกิดจากการก่อสร้างอาคาร และการตกแต่งภายใน โดยบันทึกบัญชีเป็นสินทรัพย์ (Asset) คิดค่าเสื่อมราคาแบบเส้นตรง

การบันทึกข้อมูลรายรับ - รายจ่ายบัญชี ของโรงพยาบาลสัตว์


สามารถแบ่งได้เป็น 2 กรณีคือ กรณีรายรับที่เกิดจากการให้บริการรักษาสัตว์เลี้ยง และอีกกรณีเป็นรายรับจากการขายอาหารสัตว์ และขายสินค้าให้กับสัตว์เลี้ยง นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ผู้ประกอบการจะต้องนำมาบันทึก เพื่อเป็นรายรับและรายจ่ายในการทำบัญชี
 
หากคลินิกหรือโรงพยาบาลรักษาสัตว์ ที่เสียภาษีเงินได้แบบบุคคลธรรมดา จะสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ตามจริงเท่านั้น จึงต้องเก็บเอกสาร ใบเสร็จต่างๆ ไว้ให้ครบถ้วน และควรลงบันทึกรายรับ-รายจ่ายทุกครั้ง เพื่อให้เป็นหลักฐานตอนยื่นภาษี

ทรัพย์สินโรงพยาบาลสัตว์

โดยส่วนมากจะเป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆ ได้แก่ เครื่องเอกซเรย์, เครื่องผ่าตัด, เครื่องอัลตราซาวนด์, เครื่องมือวัดชีพจร เครื่องชั่งน้ำหนัก รวมถึงเฟอร์นิเจอร์ เช่น เครื่องใช้สำนักงานต่างๆ

โครงสร้างรายได้ของโรงพยาบาลสัตว์

โครงสร้างรายได้ของโรงพยาบาลสัตว์ จึงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วน ได้แก่

  • รายได้หลัก - มาจากการให้บริการรักษาสัตว์เลี้ยงภายในโรงพยาบาล
  • รายรับเสริม - มาจากการจำหน่ายสินค้าเกี่ยวกับสัตว์ และการให้บริการต่างๆ เช่น การขายอาหารสัตว์ การขายอุปกรณ์ดูแลรักษาสัตว์เลี้ยง หรือการให้บริการอาบน้ำและตัดขนสัตว์ เป็นต้น

โครงสร้างค่าใช้จ่ายโรงพยาบาลสัตว์

1. รค่าใช้จ่ายในการตกแต่งอาคาร  - การตกแต่งหรือซ่อมแซมต่างๆ ภายในอาคาร โดยรายจ่ายเหล่านี้จะต้องนำมาบันทึกค่าใช้จ่าย ฝั่งของบริษัทและต้องคิดค่าเสื่อมราคา
2.  ค่าใช้จ่ายค่าเสื่อมราคาในการดำเนินธุรกิจ  - ของทั้งทางคุณหมอ Full Time / คุณหมอ Outsource / คุณหมอ Part – time / ผู้ช่วยพยาบาล / แอดมิน / แม่บ้าน /พนักงานอาบน้ำ-ตัดขน เป็นต้น ซึ่งค่าใช้จ่ายทั้งหมดนี้ จะต้องจัดระบบให้เรียบร้อย
3.  ค่าใช้จ่ายส่วนอื่นๆ  - เช่น ค่าน้ำ, ค่าไฟ, ค่าเช่า, ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา, ค่าที่ปรึกษา, ค่าใช้จ่ายทางด้านการตลาด, รวมถึงค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่างๆ

อ่านรายละเอียด โครงสร้างค่าใช้จ่ายโรงพยาบาลสัตว์ เพิ่มเติม

การจดเข้าภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับสินค้าที่มี Vat และ Non Vat



รายการค่าใช้จ่ายในธุรกิจโรงพยาบาลสัตว์ที่มี Vat

  • ค่าบริการทางการแพทย์
  • ค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์
  • สินค้าต่างๆ ของสัตว์เลี้ยง เช่น ทรายแมว, กระบะทรายแมว, เสื้อผ้าน้องหมาและน้องแมว รวมถึงของใช้ต่างๆ เป็นต้น

รายการค่าใช้จ่ายในธุรกิจโรงพยาบาลสัตว์ที่ Non Vat

  • ค่ายารักษาสัตว์
  • อาหารสัตว์

สิ่งสำคัญคือทุกครั้งที่มีการออกใบเสร็จรับเงิน หรือออกใบกำกับภาษีให้ลูกค้า จะต้องมีการบันทึกข้อมูลอย่างละเอียด เพราะข้อมูลทุกอย่างจะต้องนำรายงานส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม และแบบภาษี ภพ.30 ทุกเดือน

ทำความเข้าใจ โครงสร้างค่าใช้จ่ายโรงพยาบาลสัตว์ เพิ่มเติม

หาที่ปรึกษาด้านการ ทำบัญชีโรงพยาบาลสัตว์ แนะนำที่ นรินทร์ทอง

โดยสรุปแล้วจะเห็นว่า การเปิดโรงพยาบาลสัตว์หรือคลินิกรักษาสัตว์ขึ้นมาสักแห่งหนึ่ง เจ้าของธุรกิจจะต้องใส่ใจรายละเอียดในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะการ ทำบัญชีโรงพยาบาลสัตว์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องให้ความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นข้อมูลทางด้านธุรกรรมที่มีหลายขั้นตอน และมีความละเอียดอ่อน หากเกิดข้อผิดพลาดขึ้นมาอาจส่งผลเสียต่อตัวธุรกิจได้โดยตรง ดังนั้นถ้าคุณอยากได้ที่ปรึกษาด้าน การทำบัญชี ส่วนตัว ขอแนะนำ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339


#12

การทำบัญชีไม่ใช่แค่การทำเอกสารส่งสรรพากรเท่านั้น เพราะจริงๆ แล้วก็การทำบัญชี เป็นตัวช่วยในการบริหารงานที่สำคัญไม่แพ้กับ การพัฒนาสินค้าบริการ และการทำการตลาด ดังนั้นสำหรับเจ้าของธุรกิจที่ยังไม่เริ่มทำบัญชี ห้ามพลาดกับ ประโยชน์ของการทำบัญชี กับเรานรินทร์ทอง

เรียนรู้ประโยชน์ของการทำบัญชี กับเราเพิ่มเติมได้ที่นี่


ประโยชน์ของการทำบัญชี


ช่วยให้เห็นภาพผลการดำเนินการของกิจการ
กิจการของเรามีรายรับ รายจ่าย ได้กำไร หรือ ขาดทุน มีรายได้จากสินค้าและบริการอะไรเป็นหลัก


เป็นเครื่องมือที่สามารถนำมาใช้และตัดสินใจในธุรกิจ
  • ช่วยให้คุณสามารถติดตาม และจัดการกระแสเงินสดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • ทำให้เราเห็นต้นทุนของสินค้าและบริการนั้นๆ ได้ชัดเจน
  • ช่วยให้คุณสามารถวางแผนทางการเงินได้อย่างแม่นยำ

ทำความเข้าใจการทำบัญชี ประโยชน์ที่ช่วยต่อยอดธุรกิจ เพิ่มเติมคลิกที่นี่



การทำบัญชีเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบกิจการ
เนื่องจากการทำบัญชี หรือ การบันทึกบัญชี จะทำให้เราสามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้


การหาแหล่งเงินทุน
สามารถนำรายงานบัญชีไปเป็นข้อมูลสำหรับการขอสินเชื่อ ธนาคาร สถาบัญทางการเงินต่างๆ เพื่อพิจารณาการให้สินเชื่อ

อยากสร้างธุรกิจให้เติบโตอย่างมั่นคง เรียนรู้การจ้างสำนักงานบัญชีคลิกที่นี่


สรุป ประโยชน์ของการทำบัญชี ที่มีดีมากกว่าที่คุณคิด

การทำบัญชีไม่ใช่แค่การเก็บข้อมูลทางการเงินเท่านั้น แต่ยังเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการบริหารจัดการธุรกิจให้มีประสิทธิภาพ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงานรับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#13

การทำบัญชีเป็นส่วนสำคัญของการดำเนินธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ ถ้าหากใครที่ทำบัญชีด้วยตัวเอง แล้วเริ่มซับซ้อนไม่ตอบโจทย์ ไม่รู้ว่าจะเริ่ม จ้างทำบัญชี ตอนไหน แล้วจะจ้างเป็นพนักงาน หรือจ้างสำนักงานบัญชี ไปเลย บทความนี้จะช่วยคุณตัดสินใจ กับเรานรินทร์ทอง

อ่านรายละเอียดการจ้างทำบัญชีเพิ่มเติม อ่านบทความเต็มๆ ที่นี่

เมื่อไรควร จ้างทำบัญชี?


  • ธุรกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว: การจ้างทำบัญชีจะช่วยให้คุณมีเวลามากขึ้น ในการเน้นไปที่การขยายธุรกิจ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการ
  • ความซับซ้อนของการทำบัญชีเพิ่มขึ้น: เมื่อธุรกิจขยายและมีการทำธุรกรรมทางการเงินที่ซับซ้อน เช่น การจัดการภาษี การจ่ายเงินเดือน และการจัดทำรายงานทางการเงิน รวมถึงธุรกิจบางประเภทที่ต้องรู้เรื่องภาษีเฉพาะทาง
  • ขาดความรู้และทักษะทางบัญชี: การจ้างมืออาชีพมาช่วยดูแลการเงิน จะช่วยให้คุณมั่นใจในความถูกต้อง และช่วยคุณประหยัดเวลา

ปัจจัยในด้านขนาดธุรกิจแบบไหนควร จ้างทำบัญชี

สำหรับธุรกิจขนาดเล็ก
รายได้ยังไม่เกิน 1.8 ล้านต่อปี ธุรกิจมีรูปแบบที่ไม่ซับซ้อน มีจำนวนบิลไม่มากเนื่องจากธุรกิจพึ่งมีการดำเนินการ อยู่ในรูปแบบบุคคลธรรมดา แบบนี้แอดมินแนะนำให้ ศึกษาการทำบัญชี และ ยื่นภาษีได้เอง ยังไม่ได้มีความจำเป็นที่จะต้องจ้างสำนักงานบัญชี

สำหรับธุรกิจขนาดกลาง
มีการจดทะเบียนนิติบุคคล หจก หรือ บจก และมีรายได้มากกว่า 1.8 ล้าน/ต่อปี ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เริ่มมีรายได้สูง และ เริ่มมีพนักงานหลายคน มีจำบิลซื้อ และ ขายเป็นจำนวนมาก

เรียนรู้ปัจจัยการจ้างทำบัญชี สำหรับธุรกิจแต่ละขนาด เพิ่มเติมคลิกที่นี่


เลือกทำบัญชีเอง จ้างพนักงาน หรือ จ้างสำนักงานบัญชี แบบไหนดีกว่ากัน

ทำบัญชีเอง:

ข้อดี
  • ประหยัดค่าใช้จ่าย
  • สามารถควบคุณได้ง่าย
  • ได้ความรู้
ข้อเสีย
  • มีโอกาสเกิดข้อผิดพลาดสูง

*ซึ่งเจ้าของธุรกิจจำเป็นจะต้องจ้างผู้ทำบัญชี  และ ผู้สอบบัญชี ไม่สามารถปิดงบการเงินได้ด้วยตัวเองจำเป็นจะต้องจ้างซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ *

จ้างพนักงานทำบัญชี:

ข้อดี
  • ความต่อเนื่องและความเชื่อถือ
  • การให้คำปรึกษาทางการเงิน
ข้อเสีย
  • มีค่าใช้จ่าย

จ้างสำนักงานบัญชี:

ข้อดี
  • มืออาชีพและความเชี่ยวชาญ
  • ช่วยประหยัดเวลา
  • ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างถูกต้อง
ข้อเสีย
  • ความยืดหยุ่นจะน้อยกว่าแบบอื่นๆ


เลือกแนวทางการทำบัญชีที่เหมาะกับธุรกิจของคุณ อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่!


สรุป
การจ้างทำบัญชีเราจะจ้างได้ เมื่อกิจการมีความพร้อม พร้อมทั้งในส่วนของรายได้ และ เหมาะกับสถานการณ์ในช่วงนั้นๆ บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงาน รับทำบัญชี ทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น

  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#14




หลังเปิดบริษัทแล้วต้องทําอะไรบ้าง ? ซึ่งทาง นรินทร์ทอง ในฐานะที่เราเป็นผู้ให้คำปรึกษาด้านการจัดทำบัญชี และจดทะเบียนบริษัท จึงอยากมาให้ข้อมูลเกี่ยวกับ สิ่งที่ต้องทำหลังการจดทะเบียนบริษัท เพื่อให้เจ้าของธุรกิจได้ทราบถึงขั้นตอนต่างๆ ที่ต้องทำหลังจากนั้น

ข้อควรรู้ หลังเปิดบริษัทแล้วต้องทําอะไรบ้าง อ่านบทความเต็มๆ ได้ที่นี่


หลัง เปิดบริษัทแล้วต้องทําอะไรบ้าง ?



1. จัดประชุมผู้ถือหุ้น
สำหรับบริษัทจำกัด นับจากวันที่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล จะต้องมีการประชุมสามัญครั้งแรก ภายใน 6 เดือนนับจากวันที่จดทะเบียนบริษัท ส่วนการจัดประชุมในครั้งต่อๆ ไป จะต้องจัดประชุมอย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกๆ 12 เดือน

2. จัดทำใบหุ้นและสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น
  • ใบหุ้น คือ เอกสารที่ต้องระบุข้อมูลต่างๆ ของการเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท
  • สมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น คือ สมุดแสดงรายการข้อมูลหุ้นตั้งแต่จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ที่มีข้อมูลตั้งแต่ขั้นตอนการจัดตั้ง, มีรายการเพิ่มทุน-ลดทุน, การโอนหุ้น รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้น

3. จัดทำบัญชีตามที่กฏหมายกำหนด
  • บัญชีรายวัน ได้แก่ บัญชีเงินสด, บัญชีธนาคาร, บัญชีรายวันซื้อ, บัญชีรายวันขาย และบัญชีรายวันทั่วไป
  • บัญชีแยกประเภท ได้แก่ หนี้สิน, ทุน, รายได้ และค่าใช้จ่ายลูกหนี้ เจ้าหนี้
  • บัญชีสินค้า และ สต็อกสินค้า
  • บัญชีอื่นๆ ตามรูปแบบของบริษัท

4. จัดหาผู้ทำบัญชีของบริษัท
ทางบริษัทจะต้องมีการจัดทำบัญชี ที่แสดงข้อมูลผลประกอบการที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง และตรงตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

5. จัดส่งเอกสารให้ผู้ทำบัญชีเพื่อปิดบัญชี
ในส่วนนี้เป็นหน้าที่ของผู้ประกอบการ ที่จะต้องมอบเอกสารทั้งหมดให้ผู้ทำบัญชี เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการลงบัญชีในทุกๆ เดือน

6. จัดทำงบการเงิน
บริษัทจะต้องปิดงบการเงินในทุกๆ รอบ 12 เดือน หรือ 1 ปี เพื่อให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและลงลายมือชื่อ จากนั้นนำเสนอในที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นอนุมัติงบการเงินภายใน 4 เดือน หลังสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี

7. จัดเก็บเอกสารบัญชีและภาษี
ทางบริษัทจำเป็นต้องเก็บเอกสารที่ใช้ ประกอบการลงบัญชีทั้งหมดไว้ที่บริษัทไม่น้อยกว่า 5 ปี ส่วนการเก็บรักษาเอกสารภาษี ตามประมวลรัษฎากร กำหนดให้ผู้ประกอบการเก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี แต่ไม่เกิน 7 ปี

อ่านรายละเอียดสิ่งที่ต้องทำหลังเปิดบริษัท เพิ่มเติมคลิก


หากไม่ทำเกิดอะไรขึ้น


  • มาตรา 8 บริษัทจำกัดไม่ทำใบหุ้น หรือเรียกค่าธรรมเนียมเกิน
    มีค่าปรับ 10,000 บาท
  • มาตรา 10 บริษัทจำกัดไม่มีสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น
    มีค่าปรับ 20,000 บาท
  • มาตรา 11 บริษัทจำกัดไม่รักษาสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น หรือไม่เปิดสมุดทะเบียนเมื่อผู้ถือหุ้นร้องขอ
    มีค่าปรับ 20,000 บาท
  • มาตรา 25 บริษัทจำกัดใดกระทำความผิดตามมาตรา 7-24
    มีค่าปรับ 50,000 บาท

ทำความเข้าใจที่มาของค่าปรับต่างๆ เพิ่มเติม คลิกอ่านบทความที่นี่


สรุป หลังการเปิดบริษัทต้องทำอย่างไรบ้าง กับ นรินทร์ทอง


เมื่อรู้อย่างนี้แล้วก็อย่าละเลยที่จะจัดเตรียมเอกสาร และงานบัญชีที่ต้องทำให้เรียบร้อยตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อที่บริษัทจะได้มีงบการเงินที่มีคุณภาพ ไม่ต้องโดนค่าปรับ และสำหรับผู้ประกอบการท่านใด ที่ไม่มีความรู้เรื่องการจัดทำบัญชี หรือไม่รู้ว่าจะต้องเริ่มจากตรงไหนก่อน แนะนำว่าให้ปรึกษากับสำนักงานบัญชีที่มีความเชี่ยวชาญโดยตรง อย่าง บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงานรับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : ]narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339
#15


หากใครที่กำลังจะเปิดกิจการ แล้วกำลังมองหาชื่อกิจการก่อนจดทะเบียนนิติบุคคล ในบทความนี้ นรินทร์ทอง อยากมาแชร์เทคนิคการ ตั้ง ชื่อ บริษัท ให้จำง่าย และส่งผลดีต่อธุรกิจของคุณในระยะยาว ซึ่งจะมีเทคนิคการตั้งชื่ออย่างไรบ้างบทความนี้มีคำตอบ!

อยากรู้ เทคนิคตั้งชื่อบริษัทก่อนจดทะเบียนนิติบุคคล" เพิ่มเติมคลิกอ่านได้ที่นี่!


เทคนิคการ ตั้ง ชื่อ บริษัท อย่างไร ไม่ให้มีปัญหาภายหลัง

1. การตั้ง "ชื่อบริษัท" เป็นเรื่องสำคัญ
เนื่องจากคนทั่วไปจะรู้จักชื่อบริษัท ผ่านสินค้าหรือการให้บริการเป็นส่วนใหญ่ เพราะคุณจำเป็นต้องใช้ชื่อบริษัทในการทำการตลาด ซึ่งแน่นอนว่าส่งผลต่อภาพลักษณ์ และจุดยืนด้านการตลาด

2. ไม่ใช้คำยากในการตั้งชื่อบริษัท
ชื่อบริษัทที่ดีจะต้องตั้งให้จำง่าย ไม่ใช้คำยาก เป็นเอกลักษณ์ สามารถสื่อความหมาย และตัวตนของธุรกิจได้ดี

3. ไม่จำเป็นต้องใช้อักษรย่อเสมอไป
หากเป็นธุรกิจ SME ช่วงเริ่มต้น แนะนำว่าควรใช้ชื่อเต็มๆ จะเหมาะสมต่อการดำเนินธุรกิจมากกว่า เพราะหากใช้ชื่อที่เป็นอักษรย่อ อาจจะซ้ำกับบริษัทอื่นได้ง่าย

4. หลีกเลี่ยงการใช้ชื่อตัวเอง
ถ้าวันหนึ่งคุณไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ตามที่มอบหมายได้ อาจส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์ของบริษัทได้ง่าย

5. ตั้งชื่อเผื่อขยายกิจการในอนาคต
ควรตั้งชื่อบริษัทที่ง่ายต่อการขยายกิจการ หลีกเลี่ยงการตั้งชื่อแบบเจาะจง และไม่ควรใช้ชื่อสถานที่ในการตั้งชื่อบริษัท

6. หลีกเลี่ยงการใช้ชื่อที่เกี่ยวข้องกับราชวงศ์ หรือ หน่วยงานราชการ
การจองชื่อนิติบุคคลนิติบุคคล การจองชื่อเพื่อจดทะเบียนบริษัท การทำธุรกิจรูปแบบนิติบุคคลนั้น จะต้องไม่มีคำหรือข้อความที่เกี่ยวข้องกับ

  • พระนามของพระเจ้าแผ่นดิน พระมเหสี รัชทายาท หรือพระบรมวงศานุวงศ์ ในพระราชวงศ์ปัจจุบัน เว้นแต่จะได้รับพระบรมราชานุญาต
  • ชื่อกระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ ราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานหรือองค์การของรัฐ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีเจ้ากระทรวงที่เกี่ยวข้อง
  • ชื่อประเทศ เว้นแต่จะได้ระบุไว้ในวงเล็บต่อท้ายชื่อ และอยู่หน้าคำว่า "จำกัด"
  • ชื่อที่อาจก่อให้เกิดสำคัญผิดว่า รัฐบาล กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการ ราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน หรือองค์การของรัฐทั้งของประเทศไทยหรือต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศเป็นเจ้าของหรือผู้ดำเนินการ
  • ชื่อที่ขัดต่อแนวนโยบายแห่งรัฐ หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

7. ไม่ใช้ชื่อใกล้เคียงกับบริษัทที่มีชื่อเสียง
หลีกเลี่ยงการตั้งชื่อบริษัทใกล้เคียงกับบริษัทที่มีชื่อเสียง เพราะอาจสร้างปัญหาระหว่างเจ้าของธุรกิจได้

อ่านเทคนิคการตั้งชื่อบริษัทแบบละเอียด คลิกที่นี่


แนะนำวิธีการเช็กชื่อบริษัทว่า ซ้ำหรือไม่

เช็กให้แน่ใจว่าชื่อบริษัทที่ตั้งนั้น ไม่ได้ซ้ำกับบริษัทอื่น หรือแบรนด์ไหนที่เคยทำธุรกิจมาก่อน! เพราะการใช้ชื่อธุรกิจซ้ำกันอาจทำให้เกิดปัญหาตามมามากมาย และยากต่อการแก้ไขในอนาคต เช่น
  • เกิดการละเมิดเครื่องหมายการค้า
  • ความสับสนของผู้บริโภค
  • ความเสียหายต่อชื่อเสียง
  • การกระทำที่หลอกลวง
  • ส่งผลให้เกิดความผิดทางกฎหมาย
ดังนั้นทาง นรินทร์ทอง ขอแนะนำว่า ก่อน ตั้ง ชื่อ บริษัท ควรทำการตรวจสอบทุกครั้ง หรือสามารถจองชื่อนิติบุคคลได้ที่เว็บไซต์ www.dbd.go.th

ไม่อยากมีปัญหาภายหลัง ต้องรู้เทคนิคการตั้งชื่อบริษัท คลิกอ่านบทความที่นี่


สรุปเทคนิคการตั้งชื่อบริษัท ที่คนอยากจดทะเบียนนิติบุคคล ต้องรู้ กับ นรินทร์ทอง
การตั้งชื่อบริษัทเป็นหนึ่งในขั้นตอนที่สำคัญมาก เพราะชื่อบริษัทเปรียบเสมือนภาพลักษณ์ของธุรกิจ และสำหรับเจ้าของธุรกิจทุกท่าน ที่ทำธุรกิจในรูปแบบนิติบุคคล หรือเป็นนักธุรกิจมือใหม่ที่อยาก จดทะเบียน บริษัท แนะนำว่าควรขอคำปรึกษาจากผู้ที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านนี้โดยเฉพาะ อย่าง บริษัท นรินทร์ทอง จำกัด สำนักงานรับทำบัญชี และจัดทำงบการเงิน โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านบัญชีและภาษี ด้วยประสบการณ์ที่ให้บริการมากกว่า 20 ปี โดยมีบริการให้คุณได้เลือกใช้อย่างหลากหลาย ทำให้ธุรกิจของคุณสามารถเติบโตและมีประสิทธิภาพในการก้าวหน้า ไม่ว่าจะเป็น
  • การส่งภาษีอากร ทางเราสามารถยื่นภาษีให้ได้ โดยที่คุณไม่ต้องยุ่งยากกับการจัดเตรียมเอกสาร รวมไปถึงรับจัดทำรายงาน และให้คำปรึกษาทางด้านภาษี
  • รับจดทะเบียนบริษัท เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทของคุณ โดยไม่ต้องกังวลกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากการจดทะเบียน เพราะเราสามารถช่วยคุณได้
  • งานทางด้านการเงิน จะเป็นการดำเนินเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการยื่นแบบเงินเดือน และประกันสังคมของพนักงานที่ทำงานอยู่ภายในบริษัท
  • ให้บริการรับทำบัญชี หากใครที่กำลังรู้สึกว่าการทำบัญชีนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นมากมายภายในบริษัท ทางเราพร้อมที่จะดูแลคุณ
 

สำหรับใครที่ต้องการปรึกษาสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่...
Facebook : NarinthongOfficial
E-mail : ]narinthong.ac@gmail.com
Line : @Narinthong
Tel : 081-627-6872 , 02-404-2339